All articles
-
ข้อตกลงที่ COP29 เรื่องตลาดคาร์บอนเป็นตัวบ่อนทำลายปฏิบัติการกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ผู้เจรจาในการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) ที่บากูได้ตกลงในมาตรฐานใหม่สำหรับกลไกตลาดคาร์บอน ซึ่งจะเปิดโอกาสให้มีช่องโหว่ในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและบ่อนทำลายปฏิบัติการกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
COP29 คือโอกาสที่เหล่าผู้นำโลกจะตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายจากสภาพภูมิอากาศได้สำเร็จ
การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) ที่จัดขึ้นใน บากู อาเซอร์ไบจาน จะต้องรับมือและแก้ปัญหาภาวะโลกเดือดอย่างจริงจัง โดยผู้นำโลกจะต้องมีข้อตกลงเกี่ยวกับเป้าหมายกองทุนสนับสนุนด้านการเงินเพื่อชดเชยและช่วยเหลือในด้านการรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศสำหรับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา
-
ข้อเสนอสู่เวทีเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก กับคำถามโค้งสุดท้าย: ผลิตและบริโภคพลาสติกอย่างไรถึงเรียกได้ว่ายั่งยืน?
หลังจากที่ได้มีการประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 และได้กำหนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างประเทศ (Intergovernmental Negotiating Committee – INC) เพื่อร่วมกันจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายว่าด้วยมลพิษพลาสติกรวมถึงสิ่งแวดล้อมในทะเล และได้ตกลงให้มี “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” หรือ “Global Plastic Treaty” ขึ้น โดยกำหนดว่า สนธิสัญญานี้จะต้องครอบคลุมตลอดวงจรชีวิตพลาสติก และมีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตและบริโภคพลาสติกในระดับที่ยั่งยืน จากนั้นได้จัดให้มีการประชุม INC เพื่อร่างสนธิสัญญาพลาสติกโลก โดยการประชุม INC ครั้งที่ 5 ที่ปูซาน…
-
ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากต้องลงมือทำ เนื่องจากปี 2567 กำลังทำสถิติความร้อนสูงสุดประจำปีใหม่
เราอยู่ในจุดที่ต้องตัดสินใจ และผู้ก่อโลกเดือดจะไม่สามารถหลบหนีความรับผิดชอบได้! ข่าวที่ว่าในช่วงปี 2558-2567 จะเป็นทศวรรษที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ต้องกระตุ้นให้เกิดการลงมือทำ เพราะความเสียหายที่เกิดจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศซึ่งขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิลได้สร้างความหายนะให้กับชุมชนทั่วโลก
-
เจ้าภาพ COP29 ควรมุ่งเน้นไปที่การยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ไม่ใช่ข้อตกลงลับในการขยายอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล
จากรายงานที่แสดงให้เห็นว่า ประธานการประชุม COP29 นายเอลนูร์ ซอลตานอฟ ถูกถ่ายวิดีโอขณะพูดคุยถึง “โอกาสการลงทุน” ในบริษัทน้ำมันและก๊าซแห่งรัฐของอาเซอร์ไบจาน (Socar) แจสเปอร์ อินเวนเตอร์ หัวหน้าคณะผู้แทนกรีนพีซสากล กล่าวว่า:
-
กรีนพีซ สหรัฐอเมริกา ยืนหยัดเคียงข้างประชาชน เพื่อสภาพภูมิอากาศ ความเป็นธรรม และประชาธิปไตย
วอชิงตัน ดี.ซี., 6 พฤศจิกายน 2567 – สุชมา รามาน ผู้อำนวยการบริหาร กรีนพีซ สหรัฐอเมริกา แสดงความคิดเห็นต่อการที่โดนัลด์ ทรัมป์ ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีคนล่าสุดของสหรัฐอเมริกา
-
ถึงเวลาที่เจ้าภาพ COP28 ต้องสานต่อฉันทามติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) และยุติการขยายเชื้อเพลิงฟอสซิล
ก่อนเริ่มการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) เจ้าภาพ COP28 เมื่อปี 2566 ที่ผ่านมา ได้เผยแพร่แผนการดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศ(เป้าหมายปี 2578)
-
การต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมทางทะเลของ บังนี จากชุมชนจะนะ ในการประชุม CBD COP16 ว่าด้วยการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ชายฝั่ง และเกาะ
นักต่อสู้ด้านสิ่งแวดล้อมและตัวแทนชาวประมงจากจะนะ จังหวัดสงขลาอย่าง "บังนี รุ่งเรือง ระหมันยะ" ได้แบ่งปันเรื่องราวการต่อสู้และความหวังของชุมชนภายใต้หัวข้อ “การส่งเสริมวิธีการที่ยึดหลักสิทธิมนุษยชนในการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ชายฝั่ง และเกาะ” ซึ่งเป็นเวทีให้ชุมชนที่มีบทบาทสำคัญในการปกป้องระบบนิเวศที่เปราะบางเหล่านี้ได้แสดงออกถึงประเด็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่พวกเขาเผชิญอยู่
-
ทันโลก ทันสถานการณ์ระบบพลังงานหมุนเวียนที่สะอาดและเป็นธรรม : 4 ประเทศที่มีแนวทางสนับสนุนพลังงานหมุนเวียนที่ทำได้จริง
เมื่อนานาประเทศทั่วโลกจากยุโรปและเอเชียล้วนมีคำมั่นสัญญาในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามกรอบการเจรจาและข้อตกลงในเวทีโลกอย่างเวที COP26 ทำให้การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีอยู่ด้วยกัน 2 แนวทางหลักๆ ได้แก่ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) โดยปัจจุบัน โลกมุ่งเน้นการดำเนินนโยบายตามแนวทาง Mitigation เป็นหลัก โดยใช้กลไกของการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งดูเหมือนจะเป็นอีกหนึ่งคำตอบที่สามารถทำให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์ในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาาพในระยะเวลาอันสั้นนี้ เนื่องจากเป็นที่ทราบกันดีว่าภาคการผลิตพลังงานที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศในปริมาณความเข้มข้นสูงกว่าภาคอื่นๆ