-
มลพิษทางอากาศรุนแรงขึ้นจากสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว ข้อมูลล่าสุดโดย IQAir จัดอันดับเมืองทั่วโลก ที่เผชิญกับผลกระทบสุขภาพจากฝุ่นพิษ PM2.5
สวิตเซอร์แลนด์, 25 กุมภาพันธ์ 2563 – มลพิษทางอากาศยังคงเป็นหนึ่งในภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ที่มากที่สุด
-
เพนกวินในแอนตาร์กติกลดลงมากถึง 77% ในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา
ทีมนักวิทยาศาสตร์ได้เริ่มต้นการสำรวจจำนวนประชากรของเพนกวินชินสแตรปในแอนตาร์กติกอีกครั้ง หลังจากที่เคยสำรวจครั้งสุดท้ายเมื่อ 50 ปีก่อน ซึ่งจากข้อมูลพบว่าจำนวนเพนกวินกำลังลดลงอย่างต่อเนื่อง จนเกือบจะมากถึงร้อยละ 77
-
โลกร้อนขึ้น โรคร้ายขึ้น?
อุณหภูมิของเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศอันแปรปรวนและวิกฤตต่าง ๆ ที่ตามมา รวมถึงโรคร้ายต่าง ๆ ที่ดูจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่น่ากังวลมากที่สุด
-
ร้อนสุดๆ ฉุดไม่อยู่ เมื่อปี 2562 ทุบสถิติร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึก (อีกครั้ง)
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เราได้เผชิญกับอุณหภูมิที่สูงขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้วบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น ความจริงก็คือ เราเพิ่งจะผ่านปี 2562 ซึ่งเป็นปีที่ร้อนที่สุดครั้งที่ 2 เท่าที่เคยมีการบันทึกไว้
-
“ฝุ่น” อีกมิติว่าด้วย PM 2.5 : คุยกับศาสตราจารย์ นายแพทย์ชายชาญ โพธิรัตน์ หนึ่งในทีมจัดตั้ง Chiang Mai Air Quality Health Index
Chiang Mai Air Quality Health Index หรือ CMAQHI เป็นเว็บไซต์ที่ชาวเชียงใหม่ทุกๆ อำเภอ (25อำเภอในปี2561) และขยายครบทุกตำบล (210 แห่งในปี 2562) ขณะที่เครื่องของทางการมีติดตั้งสถานีตรวจวัดเพียง 2 แห่งเฉพาะในอำเภอเมืองเท่านั้นซึ่งไม่สามารถสะท้อนคุณภาพอากาศได้ทั้งจังหวัดอย่างแน่นอน
-
อุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นทำให้เต่ามะเฟืองต้องเดินทางหาอาหารไกลขึ้น
งานวิจัยล่าสุดพบ เต่ามะเฟืองหลังจากวางไข่บริเวณหาดฝั่งในประเทศเฟรนซ์เกียนา ในทวีปอเมริกาใต้เสร็จ พวกมันต้องเดินทางไกลขึ้นถึง 2 เท่าเมื่อเทียบกับก่อนหน้านี้ เป็นสัญญาณบ่งชี้ว่าเต่ากำลังเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปรับตัวให้เข้ากับอุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นและกระแสของมหาสมุทรที่เปลี่ยนไปอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
-
วิกฤตไฟป่ามหากาฬในออสเตรเลีย
ไฟป่ามหากาฬที่ออสเตรเลียสร้างความเสียหายครั้งใหญ่ มหาวิทยาลัยซิดนีย์ประเมินโดยรวมว่ามีสัตว์ป่า 480 ล้านตัวได้รับผลกระทบนับตั้งแต่เกิดไฟป่านับในรัฐนิวเซาท์เวลล์ตั้งแต่เดือนกันยายน 2562 จนถึงเดือนธันวาคม 2562
-
ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
-
วิกฤตภูมิอากาศ คือ วิกฤตมหาสมุทรโลก กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้นำโลกแก้ไขปัญหามหาสมุทรโดยด่วน
ผลกระทบของวิกฤตการณ์สภาพภูมิอากาศต่อมหาสมุทรนั้น มีความซับซ้อนและเชื่อมโยงกับความหลากหลายทางชีวภาพและการดำรงอยู่ของมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง ซึ่งต้องการการตอบสนองทางการเมืองทั่วโลกอย่างเร่งด่วนในอีก 12 เดือนข้างหน้า
-
การเดินทางของ Climate Strike ในประเทศไทย ผ่านมุมมองของหลิง นันทิชา โอเจริญชัย
เราเคยท้อแล้วคิดว่าจะไม่ทำ Climate Strike แล้ว แต่ก็มีคนบอกกับเราว่า Climate Strike มันคืองานของเราที่จะต้องสร้างการรับรู้ให้กับคนอื่น งานของเราไม่ใช่การลงมือทำเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น แต่งานของเราคือการสร้างการรับรู้เรื่องของวิกฤตสภาพภูมิอากาศให้ได้ก่อน