• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • ทะเลและมหาสมุทร
    ทะเลและมหาสมุทร อุตสาหกรรมประมง

    Fake My Catch: ความไม่น่าเชื่อถือของการตรวจสอบย้อนกลับทูน่ากระป๋อง

    รายงานฉบับนี้พบว่าข้อมูลของบัมเบิล บีในเว็บไซต์ “Trace My Catch” ที่จะช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าของตนตั้งแต่การจับจนมาถึงเป็นกระป๋องนั้น มีไม่เพียงพอและในบางกรณีก็ไม่ถูกต้อง

    Greenpeace Southeast Asia •
    12 September 2022
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    ความแตกต่างใต้ท้องฟ้าเดียวกัน: รายงานความเหลื่อมล้ำจากมลพิษทางอากาศ

    มลพิษทางอากาศส่งผลกระทบถึงทุกคน ในปี 2562 มีการประมาณการณ์ว่ามากกว่าร้อยละ 90 ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่รายงานฉบับนี้ได้เผยแพร่ข้อมูลการได้รับฝุ่น PM2.5 โดยอ้างอิงจากสถานการณ์ของกลุ่มเปราะบาง ได้แก่ เด็ก ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งได้รับผลกระทบจากฝุ่นไม่เท่ากันและอาจขาดการเข้าถึงข้อมูลด้านคุณภาพอากาศ

    Greenpeace Thailand •
    6 September 2022
  • ปฏิเสธ
    พลาสติก

    พบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองตามธรรมชาติในไต้หวัน

    การศึกษาของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกระบุพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของหมีดำฟอร์โมซาน (Ursus thibetanus formosanus), กวางป่าฟอร์โมซาน (Rusa unicolor swinhoii), นากคินเหมิน (Lutra lutra), มาร์เทนคอเหลือง (Martes flavigula) และแมวดาว (Prionailurus bengalensis) ทุกสายพันธุ์อยู่ในบัญชีแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบนบกของไต้หวัน และยังอยู่ในรายชื่อสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังพบไมโครพลาสติกในน้ำที่เก็บจากแหล่งที่อยู่อาศัยของหมีดำฟอร์โมซาน กวางป่าฟอร์โมซาน นากคินเหมินยูเรเซียน และปลาแซลมอน (Oncorhynchus masou formosanus) รวมถึงตัวอย่าง ลูกน้ำ แมลงที่เป็นอาหารหลักสำหรับฟอร์โมซาน…

    Greenpeace East Asia •
    24 August 2022
  • ปฏิเสธ
    พลาสติก

    ของขวัญอาบยาพิษ : เปิดโปงการทิ้งขยะสิ่งทอสู่กลุ่มประเทศซีกโลกใต้ผ่านธุรกิจเสื้อผ้ามือสอง

    หลังจากกรีนพีซเยอรมนีเผยแพร่รายงานที่อธิบายถึงเหตุผลที่ว่าทำไมระบบการควบคุมการผลิตที่อุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่นออกแบบขึ้นมาไม่สามารถทำได้จริง ล่าสุด กรีนพีซ เยอรมนีได้เผยแพร่รายงานฉบับล่าสุดซึ่งแสดงให้เห็นว่าระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนที่อุตสาหกรรมโปรโมทอย่างหนักหน่วงนั้นยังเป็นเพียงแค่วาทกรรม

    Greenpeace International •
    20 July 2022
  • กรีนพีซ
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    รายงานภาระชีวิตจากมลพิษทางอากาศของประเทศไทยปี 2564

    กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเมินว่ามลพิษทางอากาศอาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตกว่า 29,000 ราย ใน 31 จังหวัดของไทยในปี 2564 ซึ่งมากกว่าอุบัติเหตุบนท้องถนน ยาเสพติด และฆาตกรรมรวมกัน โดยมีค่าเฉลี่ยฝุ่น PM2.5 ต่อประชากรรายปีสูงกว่าค่าแนะนำคุณภาพอากาศโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ถึง 4 เท่า (21.3 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

    Greenpeace Thailand •
    2 June 2022
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2565

    ติดตามแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลก 2565

    Greenpeace Thailand •
    27 May 2022
  • ข้อเสนอ กรีนพีซ ประเทศไทย ผู้ว่ากทม.
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ พลังงานหมุนเวียน

    ข้อเสนอของ “กรีนพีซ” ว่าด้วยปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Action) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร “ที่มาจากการเลือกตั้ง”

    เมื่อพิจารณาถึงปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Action) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยวิเคราะห์ช่องทางและความเป็นไปได้ตามอํานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร และคณะผู้บริหารที่ดําเนินการได้ผ่านกระบวนการบริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร กรีนพีช ประเทศไทย มีข้อเสนอในทางปฏิบัติทั้งหมด 4 ด้าน

    Greenpeace Thailand •
    18 May 2022
  • กรีนพีซ
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    สภาพภูมิอากาศ พลังงานหมุนเวียน

    ข้อเสนอฉบับย่อของ “กรีนพีซ” ว่าด้วยปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Action) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร “ที่มาจากการเลือกตั้ง”

    ข้อเสนอเชิงนโยบายว่าด้วยปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Action) ซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development goals) สำหรับผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใหม่

    Greenpeace Thailand •
    9 May 2022
  • Global Climate Strike in New York. © Stephanie Keith / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    สภาพภูมิอากาศ การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    ด้านมืด : การบิดเบือนข้อมูลด้านสภาพภูมิอากาศที่บริษัทโซเชียลมีเดียปกปิดจากสายตาสาธารณะ

    รายงานการจัดอันดับด้านความโปร่งใสของกลุ่มบริษัทเทคโนโลยี โดยองค์กร Friends of the Earth, Avaaz และ กรีนพีซ สหรัฐอเมริกา

    Friends of the Earth, Avaaz และกรีนพีซ สหรัฐอเมริกา •
    6 May 2022
  • ปฏิเสธ
    พลาสติก ผลกระทบจากพลาสติก เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    ตีแผ่ภาวะฉุกเฉิน สภาพภูมิอากาศ: บริษัทผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคช่วยอุตสาหกรรมน้ำมันยักษ์ใหญ่ ขยายการผลิตพลาสติกได้อย่างไร

    รายงานฉบับนี้ เราจะสำรวจว่า แบรนด์ผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคนั้นล้มเหลวที่จะลดการพึ่งพาพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งอย่างมีนัยสำคัญ และการลงทุนอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อขยายกำลังการผลิตพลาสติกนั้นนำไปสู่ความนิยมพลาสติก (plastic boom) ที่อาจขยายกำลังการผลิตเป็น 3 เท่าภายในปี 2593 ได้อย่างไร

    Greenpeace Thailand •
    29 March 2022
Prev
1 2 3 4 5 6 … 20
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้