-
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2564
ผลการตรวจสอบแบรนด์ (BrandAudit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทยปี2564
-
กรีนพีซตอบโต้เนื้อหาล่าสุดในร่างความตกลงที่ COP26
เจนนิเฟอร์ มอร์แกน ผู้อำนวยการบริหาร กรีนพีซ สากลตอบโต้เนื้อหาล่าสุดของความตกลงที่ COP26 ชี้ข้อความสำคัญเกี่ยวกับเชื้อเพลิงฟอสซิลถูกลดโทนอยู่ในร่าง และเราต้องต่อสู้เพื่อทำให้ข้อความนี้เข้มแข็งขึ้น
-
ความเห็นของกรีนพีซต่อผลการเจรจาสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศที่กลาสโกว์
ผลการเจรจาออกมาแบบครึ่งๆ กลางๆ ไม่หนักแน่น และเป้าหมายเพื่อจำกัดอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกไม่ให้เพิ่มเกิน 1.5 องศาเซลเซียส(เทียบกับก่อนยุคอุตสาหกรรม)ยังปรากฏอยู่ในเนื้อหา ยุคถ่านหินกำลังจะหมดลงคือสัญญานที่ส่งออกมาซึ่งเป็นเรื่องสำคัญ
-
กรีนพีซตอบโต้เนื้อหาความตกลงใหม่ที่ COP26
“เนื้อหาความตกลงน่าจะดีกว่านี้ ควรจะดีกว่านี้ และเราเหลือเวลาหนึ่งวันเพื่อทำให้มันหนักแน่นขึ้น ตอนนี้ ร่างเนื้อหาความตกลงยังมีร่องรอยผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล และถ้าเป็นเช่นนี้ ก็จะไม่ใช่ความตกลงที่ก้าวหน้าที่ผู้คนทั่วโลกคาดหวังจากกลาสโกว์”
-
กรีนพีซระบุ การเจรจามาตรา 6 ที่ COP26 ขยายช่องโหว่ของความตกลงปารีส
กลาสโกว์ 12 พฤศจิกายน 2564 - เนื้อหาใหม่ที่เผยแพร่ออกมาในวันนี้สำหรับมาตรา 6 ของความตกลงปารีสนั้นชัดเจนว่าเปิดช่องทางให้มีการชดเชยคาร์บอน ซึ่งเป็นช่องว่างที่นำไปสู่การนับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้อย่างซ้ำซ้อน และการหลีกเลี่ยงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงจริงๆ โดยทั้งหมดนี้นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกเกินขีดจำกัด 1.5 C
-
โมเดลเวียนคืนภาชนะ เกิดขึ้นจริงแล้วที่ประเทศไทย
Samata สมถะ มังสวิรัติเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ร้านอาหารมังสวิรัติอบอุ่นน่ารักที่จังหวัดเชียงใหม่มีแนวคิดที่ว่าอยากให้ร้านอาหารแห่งนี้เป็นเหมือนคอมมิวนิตี้พูดคุย แลกเปลี่ยนเรื่องผัก สุขภาพ รวมถึงผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการทำอุตสาหกรรมปศุสัตว์ นอกจากนี้ยังมีอีกมุมที่สมถะเล็งเห็นว่าเราสามารถช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมนอกจากลดการทานเนื้อสัตว์ได้ นั่นคือหันมาใช้การ “ผูกปิ่นโต” สำหรับลูกค้าที่อยากวางแผนการกินอาหารมังสวิรัติล่วงหน้า การผูกผิ่นโตคืออะไร? แล้วทำไมเราต้องวางแผนการกินด้วย?
-
4 มายาคติของอุตสาหกรรมเกษตรที่กำลังทำลายระบบอาหารของเรา
4 มายาคติของการทำอุตสาหกรรมการเกษตร ความจริงที่ทุกคนเผชิญที่กำลังทำลายระบบอาหารของเรา
-
กรีนพีซตอบโต้แถลงการณ์ทวิภาคีจีน-สหรัฐอเมริกาที่ COP26
แถลงการณ์ของประเทศทั้งสองตระหนักถึงเป้าหมาย 1.5 C ว่า เป็นหัวใจสำคัญของแผนปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศที่น่าเชื่อถือและกำหนดให้ทศวรรษ 2020(พ.ศ.2563-2573) คือกรอบเวลาที่เราต้องเห็นการลงมือทำจริงๆ ซึ่งมีความสำคัญโดยเฉพาะจากสองประเทศนี้ แต่ท้ายที่สุดแล้ว แถลงการณ์ของพวกเขาไม่ได้ผนวกข้อเรียกร้องจากกลุ่มประเทศที่เสี่ยงต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศในประเด็นที่ให้ ประเทศต่างๆ นำเสนอแผนปฏิบัติการที่มุ่งมั่นมากยิ่งขึ้นในแต่ละปีจนกว่าช่องว่างระหว่างเป้าหมาย 1.5 C และการลงมือทำจริงๆ จะหมดลง
-
กรีนพีซตอบโต้ร่างเนื้อหาความตกลงใน COP26 ที่กลาสโกว์
ร่างความตกลงนี้ไม่ใช่แผนการกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่เป็นความตกลงที่เราทุกคนต้องการให้เป็นและคาดหวังว่าจะดีที่สุด เป็นการร้องขอที่นิ่มนวลว่าประเทศต่างๆ อาจจะทำมากขึ้นในปีหน้า แต่ที่แน่ๆ มันยังไม่ดีพอ และคณะเจรจาทั้งหลายไม่ควรคิดที่จะเดินทางออกจากกลาสโกว์จนกว่าพวกเขาจะเห็นชอบในความตกลงที่สอดคล้องกับสถานการณ์ เพราะแทบจะมั่นใจได้ว่า ความตกลงที่กลาสไกว์จะไม่มีสิ่งนี้
-
หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน
ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง