All articles
-
ค่าฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่ 14 จังหวัด (มกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2560)
มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ของเมืองในประเทศไทย ช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2560
-
รายงานประจำปี 2559
ปี 2559 กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก้าวไปสู่การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เร่งด่วนที่สุดในภูมิภาคเราทำงานด้วยการส่งเสริมพลังการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อชัยชนะของโลก เรายังคงขยายงานรณรงค์ให้กว้างออกไปเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนและกลุ่มคนที่หลากหลายได้มาเข้าร่วม
-
Global Shift
ผลการวิจัยครั้งล่าสุดของ โคลสวอร์ม และ กรีนพีซ พบว่า ตั้งแต่ปี 2553 มากกว่าหนึ่งในสี่ของบริษัท 1,675 แห่ง ที่เป็นเจ้าของโครงการหรือวางแผนสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ได้เลิกประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมถ่านหินแล้วทั้งหมด
-
คู่มืออากาศสะอาด เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของเรา
ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2560 ค่าเฉลี่ยของความเข้มข้นฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ 19 จุดใน 14 เมืองทั่วประเทศไทยในช่วงครึ่งแรกของปี 2560 ระบุ ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของ PM 2.5 ทั้ง 14 เมืองเกินค่าความปลอดภัยตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก
-
วารสารข่าว ฉบับปี 2560
จากวันนี้ไปอีก 500 ปีข้างหน้า คุณรู้หรือไม่ว่าอายุขัยเฉลี่ยมนุษย์ในปัจจุบัน เหลือเพียง 79 ปีเท่านั้น ในทางกลับกัน ขวดพลาสติกเพียงขวดเดียวคงอยู่บนโลกได้นานถึง 500 ปี เท่ากับว่า พลาสติกทั้งหลายล้วนมีอายุยาวนานอย่างไม่น่าเชื่อ คือยาวกว่าอายุของคน และสัตว์มากถึง 6-10 เท่า!
-
ค่าฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่ 14 จังหวัด (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2560)
มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ของเมืองในประเทศไทย ช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2560
-
ถ่านหิน: วิกฤตสุขภาพในเมียนมาร์
จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลก (WHO) ประเทศเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีปริมาณมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวคือ เมืองในอาเซียนที่มีมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงสุด 10 อันดับแรกนั้น คือเมืองในประเทศเมียนมาร์
-
การจัดลําดับเมืองที่มีปัญหามลพิษทางอากาศ ปี 2559
รายงานการจัดลำดับนี้ประมวลผลจากข้อมูลของสถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ 19 สถานีทั่ว ประเทศ เพื่อหยิบยกประเด็นท้าทายของการจัดการมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) 1 และนำเสนอข้อเรียกร้องเชิงนโยบายและแนวทางจัดการในทางปฏิบัติต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2560
กำลังผลิตของโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกที่กำลังพัฒนาโครงการนั้นลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยมีสาเหตุหลักจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายและสภาวะทางเศรษฐกิจในจีนและอินเดีย
-
ไม่อาจกลับคืนเป็นอย่างเดิม : หายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
กรณีศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการรับรังสีนิวเคลียร์ตลอดช่วงชีวิตในพื้นที่อิตาเตะ จังหวัดฟุกุชิมะ