All articles
-
กู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนภัยพิบัติทางธรรมชาติจะทวีความรุนแรงสุดขั้วทั่วทุกภูมิภาค
หากเรายังคงนิ่งเฉยและปล่อยให้อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการไม่จำกัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง เราจะต้องพบเจอกับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงและบ่อยมากขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งการขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งอาจทำให้มนุษย์เราอาศัยอยู่บนโลกนี้ได้อย่างยากลำบากกว่าเดิม
-
เมื่อพลาสติกย้อนกลับมาในห่วงโซ่อาหารและซ่อนอยู่ในวัตถุดิบที่เรากิน
รู้หรือไม่ว่าปัจจุบัน วัตถุดิบที่เราใช้ทำอาหารนั้นมีไมโครพลาสติกปนเปื้อนอยู่ งานวิจัยล่าสุดที่ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของร่างกายจากมลพิษพลาสติกแสดงให้เห็นแล้วว่าวัตถุดิบหลายประเภทที่เรากินมีปริมาณไมโครพลาสติกปนเปื้อน จากขยะที่เราทิ้งในตอนนี้พวกมันกลายเป็นส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อาหารของพวกเราแล้ว
-
เรื่องที่เราควรรู้ จากเหตุการณ์ไฟป่าที่รัฐแคลิฟอร์เนีย
นี่เป็นอีกครั้งที่รัฐแคลิฟอร์เนียต้องรับมือกับไฟป่าครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แต่ถึงเช่นนั้น ก็ยังคงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจกับประเด็นต้นตอของการเกิดไฟป่าเท่าที่ควรทั้งที่ต้นเหตุต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งที่ผ่านมาอาจทำให้ไฟป่าในครั้งต่อไปหนักหนาสาหัสยิ่งยิ่งกว่าเดิม ไฟอาจลุกลามได้ไวยิ่งขึ้น และอาจเป็นภัยกับทั้งผู้คนและผืนป่าซึ่งถือว่าเป็นสมบัติอันล้ำค่าอย่างหนึ่งของชาติ บทความนี้เราจะพูดถึงเบื้องหลังของสาเหตุไฟป่าที่เกิดขึ้นในทุกวันนี้
-
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซเผยถึงผลกระทบจากหมอกควันจากไฟป่าต่อสุขภาพ และความเชื่อมโยงกับความรุนแรงของ COVID-19
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซระบุว่ารัฐบาลจากประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่ให้ความสำคัญต่อผลกระทบด้านสุขภาพจากไฟป่าและป่าพรุของอินโดนีเซีย
-
สิงหาคม 2563 เป็นเดือนที่เกิดไฟป่าแอมะซอนสูงสุดในรอบทศวรรษ
เว็บไซต์ Unearthed โดย Greenpeace ได้วิเคราะห์ข้อมูลของทางการและพบว่าฤดูเผาป่าในแอมะซอนเริ่มต้นเร็วขึ้นและรุนแรงอย่างน่าเป็นห่วง โดยในเดือนสิงหาคมพบว่าสถานการณ์ไฟป่าเลวร้ายที่สุดในรอบทศวรรษ โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าคุ้มครองที่พบไฟป่าเพิ่มขึ้นในช่วงสิบวันที่ผ่านมา
-
คำแถลงของกรีนพีซ ประเทศไทย ว่าด้วยประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน
เราเชื่อว่า ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” เรายึดถือในหลักการประชาธิปไตยที่ดี (Healthy Democracy) ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการรับรองสิทธิทางสิ่งแวดล้อมและสิทธิทางการเมืองของประชาชน
-
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริง ๆ หรือไม่?
เพราะโรคระบาด COVID-19 ทำให้เราเห็นความเชื่อมโยงว่าเรากับธรรมชาติจำเป็นจะต้องพึ่งพากันมากแค่ไหน และแสดงให้เห็นว่าระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโลกปัจจุบันนี้ถูกขับเคลื่อนด้วยวิถีชีวิตที่วุ่นวาย การบริโภคที่ล้นเกินและการผลักภาระให้กับธรรมชาติ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืน
-
เพชร มโนปวิตร: อ่านสัญญาณเตือนจากมหาสมุทร ความเป็นความตายที่ถูกมองว่าไกลตัว
“เรากำลังอยู่ในยุคที่ชดใช้กรรม” กรรมจากการพัฒนาที่ทำลายธรรมชาติมากเกินไป มหาสมุทรกำลังส่งสัญญาณว่า มันรับผลจากกิจกรรมของมนุษย์ไม่ไหวแล้ว ถ้าวันนี้ไม่ทำอะไร วิกฤตสภาพภูมิอากาศอาจร้ายแรงจนทำลายแหล่งผลิตอาหาร แหล่งที่อยู่อาศัย เกิดสงครามแย่งชิงทรัพยากร เกิดการอพยพครั้งใหญ่เพื่อความอยู่รอด และเราได้เห็นจากวิกฤตโควิด-19 แล้วว่าเวลาเกิดวิกฤตแบบนี้คนจนตายก่อนและจะเจ็บปวดที่สุด
-
10 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรอบโลกท่ามกลางไวรัส Covid-19 (ตอนที่ 2)
ติดตามอีก 5 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมรอบโลกและไทยในครึ่งแรกของปี
-
10 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรอบโลกท่ามกลางไวรัส Covid-19 (ตอนที่ 1)
ครึ่งแรกของปี 2563 นี้ มีสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมอะไรบ้างที่เกิดขึ้นทั้งในไทยและทั่วโลก