All articles
-
ภาพเล่าชีวิต ‘กลางมหาสมุทร’ ที่ไม่มีวันลืม จากช่างภาพระดับโลก ตอนที่ 1
นี่คือเรื่องราว 1 ปีแห่งการผจญภัยในมหาสมุทร จากขั้วโลกเหนือสู่ขั้วโลกใต้ บนเรือรณรงค์ของกรีนพีซ ช่วงเมษายน 2562 ถึงเมษายน 2563
-
ชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมโลก ศาลตัดสินให้การปกป้องสิ่งแวดล้อมสำคัญกว่าผลประโยชน์ทางธุรกิจ
ข่าวดีสำหรับชนพื้นเมืองในนิวซีแลนด์ “ชาวกีวี” ซึ่งคัดค้านการทำเหมืองใต้ทะเล (KASM) และกรีนพีซ เมื่อศาลอุทธรณ์นิวซีแลนด์ยืนยันคำตัดสินไม่ต่อใบอนุญาตให้บริษัททรานส์-ทัสมัน รีซอร์เซส (TTR) เพื่อทำเหมืองในทางตอนใต้ของอ่าวทารานากิไบรท์
-
โลกของโรค ตอนที่ 2 หมูเห็ดเป็ดไก่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมเกษตร และโรคระบาด
อาจจะเป็นเรื่องเหลือเชื่อที่มนุษย์อย่างเรามีความสัมพันธ์อย่างตัดไม่ขาดกับธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน
-
การปกป้องสิ่งแวดล้อมคือการปกป้องชีวิตของพวกเรา
สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่าทำให้เกิดรูปแบบการใช้ชีวิตแบบใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เช่น คนต่อแถวยาว เว้นระยะห่างเพื่อซื้ออาหาร การใช้ช่องทางออนไลน์เพื่อติดต่อสื่อสารมากขึ้น (ทำให้ผู้สูงอายุก็ต้องหัดใช้เทคโนโลยีมากขึ้นด้วย) หรือกระทั่งการช่วยเหลือกัน แบ่งปันกันในสังคม สิ่งเหล่านี้คือความพยายามทำให้สังคมของเรากลับมาแข็งแกร่งขึ้นอีกครั้งหลังวิกฤตของโรคระบาด
-
โลกของโรค ตอนที่ 1 โรคระบาดกับระบบนิเวศ
ข้อมูลมากมายจากนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ระบุชัดว่า โรคระบาดครั้งใหญ่ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ได้จู่ ๆ ก็เกิดขึ้นตามช่วงเวลา แต่เป็นผลจากการกระทำและกิจกรรมของมนุษย์ต่อระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อม หากเราไม่เริ่มทำความเข้าใจระบบนิเวศ และหันมาดูแลสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตั้งแต่วันนี้ อาจส่งผลให้เกิดโรคอุบัติซ้ำและอุบัติใหม่
-
จะสูญสิ้นหรือฟื้นคืน : ความหลากหลายทางชีวภาพหลังวิกฤต Covid-19
เมื่อโลกทั้งโลกสั่นสะเทือนจากโรคระบาดขนาดใหญ่ที่ส่งผลกระทบกับคนนับล้านอย่าง Covid-19 เราทุกคนต่างกังวลกับสุขภาพของตนเอง คนที่เรารัก รวมถึงคนที่เปราะบางที่สุดในสังคม ในเพียงเวลาไม่กี่สัปดาห์ Covid-19 กลายเป็นวาระเร่งด่วนมากที่สุด มากกว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศหรือภัยคุกคามจากการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ หายนะภัยที่ครอบงำความสนใจของคนทั้งโลกก่อนหน้านี้ เช่น ไฟป่ามหากาฬในออสเตรเลีย หรือของสังคมไทยกรณีไฟป่าอนุรักษ์ เป็นต้น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่จริงจังน้อยกว่าการระบาดของ Covid-19 ที่เรามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
-
วิกฤตโควิด-19 กำลังซ้ำเติมวิกฤตขยะพลาสติกหรือไม่
ปี 2563 จริงๆแล้วถือเป็นปีแห่งการเปลี่ยนผ่านไปสู่การปฏิเสธพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งของไทย สังคมไทยกำลังจะเดินต่อไปด้วย Roadmap การจัดการขยะพลาสติก แต่วิกฤต COVID-19 พลิกผันสถานการณ์นี้จากหน้ามือเป็นหลังมือ
-
การปกป้องมหาสมุทรเป็นเรื่องเร่งด่วน…เพื่ออนาคตด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
แม้ตอนนี้โลกกำลังเผชิญกับวิกฤต โควิด-19 แต่เราก็ต้องปกป้องการฟื้นตัวของระบบนิเวศที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วยเช่นกัน
-
หรือโรคระบาดเป็นสัญญาณเตือนของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ?
ด้วยข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญหลาย ๆ ท่านที่ต่างเชื่อว่าอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่สูงขึ้นและกิจกรรมที่ทำให้สิ่งแวดล้อมแปรปรวนมีส่วนทำให้ไวรัสปรับตัวและพัฒนาตัวเองให้รุนแรงขึ้น
-
Red Tide เมื่อการเติบโตของสาหร่าย คร่าชีวิตสัตว์ทะเลนับไม่ถ้วน
น้ำทะเลเปลี่ยนสี(Red Tide) เป็นปรากฎการณ์ที่น้ำทะเลเกิดการเปลี่ยนสีเป็นสีต่างๆตามสีของสาหร่ายใปรากฎการณ์นี้มีอันตรายที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต โดยคร่าชีวิตสัตว์ทะเลไปมากมาย