All articles
-
เหมืองทองผิดกฏหมาย ทำลายความหลากหลายทางชีวภาพของแอมะซอนได้อย่างไร?
ป่าแอมะซอนในบราซิล คือป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดในโลก แต่การทำเหมืองผิดกฏหมายส่งผลกระทบต่อแม่น้ำที่ไหลผ่านป่า ซึ่งเป็นหนึ่งในแหล่งอาหารหลักของชนพื้นเมืองในภูมิภาคนี้
-
หากอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกเกิน 2 องศาเซลเซียส จะเป็นจุดพลิกผันที่ทำให้แอนตาร์กติกเปลี่ยนไปตลอดกาล
าที่ผ่านมาวิกฤตในทวีปแอนตาร์กติกยังพอที่จะฟื้นฟูได้ แต่อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นก็ทำให้ธารน้ำแข็งละลายและทำให้มหาสมุทรอุ่นขึ้น ซึ่งหากเราไม่ทำอะไรเลย ทวีปแอนตาร์กติกก็จะไม่สามารถฟื้นฟูกลับมาได้เหมือนเดิม ซึ่งนำไปสู่ผลกระทบระยะยาวต่อสิ่งแวดล้อมและผู้คนในรุ่นต่อ ๆ ไป
-
เหมืองทะเลลึกคืออะไร มีผลกระทบอะไรบ้าง?
โครงการเหมืองทะเลลึก เป็นโครงการเหมืองที่คาดว่าจะขุดเจาะแร่โลหะและแร่อื่น ๆ จากก้นทะเลขึ้นมา แร่เหล่านี้อยู่ลึกลงไปจากพื้นผิวอีกกว่าหลายพันเมตร เช่น แร่แมงกานีส นิกเกิล และโคบอลท์
-
สนธิสัญญาทะเลหลวง : ร่างผ่าน สมาชิกยูเอ็นรับ สถานีต่อไป… รัฐบาล
หลังใช้เวลาพูดคุย ต่อสู้ และต่อรองกันมาหลายสิบปี ล่าสุดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายนที่ผ่านมา รัฐบาลที่เข้าร่วมประชุมองค์การสหประชาชาติได้ลงรับสนธิสัญญาทะเลหลวงอย่างเป็นทางการ… สักที
-
10 ความลับที่ยิ่งใหญ่ของผึ้ง
คุณรู้จักผึ้งมากแค่ไหน? นี่คือ 10 เรื่องเล็ก ๆ ที่น่ารัก แต่สำคัญและยิ่งใหญ่เกี่ยวกับผึ้งที่เราเคยพบเจอ มาดูกันดีกว่าว่าจะมีอะไรบ้าง
-
อย่าให้เมืองจมที่รุ่นเรา : นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องไม่ลืมเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เพราะไทยเป็นหนึ่งในประเทศ 10 อันดับต้นที่มีความเสี่ยงมากที่สุดในโลกจากผลกระทบของ วิกฤตสภาพภูมิอากาศในระยะยาว กรุงเทพ ฯ เป็น 1 ใน 7 เมือง ที่กำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้นอีกด้วย
-
Earth Day : วันคุ้มครองโลก
ในเดือนเมษายนของทุกปี ทั้งโลกจะเฉลิมฉลองวันคุ้มครองโลก (Earth Day) บริษัทต่าง ๆ มักจะอาศัยจังหวะนี้โปรโมทแคมเปญด้านความยั่งยืน แต่ปีนี้มีความพิเศษที่ทำให้บริษัทต่าง ๆ ให้ความสนใจ คือ ธีมของปีนี้ที่พูดถึงการลงทุนเพื่อโลกของเรา ทำให้เกิดคำถามว่าบริษัทต่าง ๆ จะตีโจทย์เรื่องความยั่งยืนออกมาเป็นแบบไหนและจะประสบความสำเร็จได้อย่างไร
-
กลุ่มผู้นำต้องไม่เพิกเฉยสนธิสัญญาทะเลหลวง โดยไม่อนุมัติโครงการเหมืองใต้ทะเลลึก
การประชุมองค์กรพื้นทะเลระหว่างประเทศครั้งที่ 28 เริ่มต้นด้วยการรวมตัวกันของผู้นำระดับโลกที่เมืองคิงสตัน ในจาไมกา หลังจากการประชุมสนธิสัญญาทะเลหลวงโดยองค์การสหประชาชาติจบลงไม่ถึงสองสัปดาห์ การประชุมนี้ถือเป็นช่วงเวลาสำคัญของอนาคตของมหาสมุทร เพราะบริษัทเหมืองใต้ทะเลลึกกำลังเร่งผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยง
-
#ทิ้งแล้วไปไหน เรื่องเล่าจากหลุมขยะนำเข้าในอินโดนีเซีย
เราไม่แน่ใจว่าขยะเหล่านั้นถูกจัดการอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ตอนนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซียกำลังประสบปัญหาเรื่องขยะนำเข้า
-
สนธิสัญญาทะเลหลวงผ่านแล้ว! ก้าวประวัติศาสตร์ปกป้องมหาสมุทรโลก
ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ความทุ่มเทของนักวิทยาศาสตร์ นักอนุรักษ์ นักกิจกรรม และผู้คนทั่วโลกพยายามผลักดันให้เกิดสนธิสัญญาดังกล่าว บล็อกนี้เราจึงจะพาย้อนดูที่มาของการเจรจาสนธิสัญญา ช่วงเวลาประวัติศาสตร์ และอนาคตของมหาสมุทรโลกหลังได้สนธิสัญญา