All articles
-
ทางเลือกที่ไปพ้นจากระบบตลาดคาร์บอนในการจัดการก๊าซเรือนกระจก
การจัดตั้งตลาดคาร์บอนที่อ้างว่าเพื่อการจัดการก๊าซเรือนกระจกภายใต้ความตกลงปารีสนั้นไม่ได้ช่วยอะไรเลยในแง่ของผลลัพธ์สำหรับการต่อกรกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศและวิกฤตความหลากหลายทางชีวภาพ เวลาแห่งการเดิมพันการชดเชยคาร์บอนนั้นสิ้นสุดลงแล้ว
-
ประกาศกองทุนปกป้องผืนป่าที่ COP28 – ความเห็นของกรีนพีซ บราซิล
การสร้างกลไกทางการเงินระดับโลกเพื่อปกป้องผืนป่าเขตร้อนนั้นเป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากแสดงให้เห็นว่าผู้คนทั้งโลกมีหน้าที่รับผิดชอบ ไม่เพียงแต่ภูมิภาคที่มีพื้นที่ป่าขนาดใหญ่ เช่น ในลุ่มน้ำแอมะซอน นอกจากนี้ กองทุน Forests Forever ยังมีสิทธิในการกําหนดว่าประเทศที่มีผืนป่ามีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการและดําเนินการตามกลไกในระดับท้องถิ่น
-
การศึกษาของกรีนพีซส่งสัญญานเตือนการขายคาร์บอนเครดิตในจีน : การชดเชยคาร์บอนไม่ช่วยกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
รายงานฉบับล่าสุดโดยกรีนพีซ เอเชียตะวันออก แสดงให้เห็นถึงความเสี่ยงของจีนในการรับรองและซื้อขายคาร์บอนเครดิต ในฐานะที่เป็นตลาดหลักที่ขายคาร์บอนเครดิตด้วยตัวเอง และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) ในกลุ่มบริษัทน้ำมันและก๊าซต่าง ๆ รวมทั้งบริษัทเชลล์ บีพี โททาลเอนเนอร์ยี่ส์ ปิโตรไชน่า และ ซีนุ้ค (China National Offshore Oil Corporation (CNOOC))
-
กรีนพีซเผชิญหน้ากับเรือขุดเจาะเหมืองใต้ทะเล หวั่นการทำเหมืองใต้ทะเลกระทบระบบนิเวศใต้ท้องทะเลในแปซิฟิก
นักกิจกรรมกรีนพีซ สากล เผชิญหน้าอย่างสันติกับเรือสำรวจและขุดเจาะเหมืองใต้ทะเล เพื่อกระตุ้นให้สังคมตระหนักถึงภัยจากอุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ที่จะกระทบกับมหาสมุทรโลก
-
ชุมชนประมงไทย อินโดฯ และเซเนกัลร่วมเรียกร้องสิทธิปกป้องชายฝั่งทะเล
ชุมชนประมงจากจะนะ ประเทศไทย เซเนกัล และอินโดนีเซีย ร่วมกันจัดกิจกรรมเนื่องในวันประมงโลก ยื่นหนังสือเรียกร้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ชุมชนได้มีสิทธิ์ในการปกป้องคุ้มครองพื้นที่ทะเลของชุมชนตนเอง
-
เราต้องเปลี่ยนระบบอาหารในปัจจุบัน เพื่อปกป้องแหล่งน้ำจากผลกระทบอุตสาหกรรมปศุสัตว์
ในวัน World Food Day ที่ผ่านมา ได้กำหนดให้ ‘น้ำ’ เป็นหัวข้อหลักที่จะพูดคุยถึงในปีนี้ แน่นอนว่าน้ำคือทรัพยากรสำคัญในการเพาะปลูกอาหาร แต่ขณะนี้ผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศกำลังทำให้การเพาะปลูกต้องเจอกับความท้าทายครั้งใหญ่
-
ประชาชาติอาเซียนต้องปกป้องสิทธิประชาชนจากฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
ประชาชาติอาเซียนต้องปกป้องสิทธิประชาชนจากฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
ทำไมเราต้องสงสัยพีอาร์ “ปลูกป่าลดโลกร้อน” ของกลุ่มทุนอุตสาหกรรม
บทความนี้ต้องการชี้ให้เห็นว่า การปลูกป่าลดโลกร้อนเป็นเพียงวาทกรรมการฟอกเขียวของอุตสาหกรรมผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล (น้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซฟอสซิล) ซึ่งเป็นต้นตอของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ การปลูกต้นไม้เชิงสัญลักษณ์นอกจากจะไม่ได้สร้างป่าธรรมชาติแล้วยังอาจเป็นอันตรายต่อระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพอีกด้วย
-
สมัชชาคนจนมาทำไม? น้ำท่วม รัฐธรรมนูญใหม่ และคาร์บอนเครดิตที่ไม่เป็นมิตรกับคนจน
“สิ่งที่เราต้องการมากที่สุดคือความเข้าใจ” ‘บารมี ชัยรัตน์’ ที่ปรึกษาสมัชชาคนจนตอบ เมื่อเราถามว่าม็อบสมัชชาคนจน กว่า 2,000 คน ที่ปักหลักกลางสายฝนกระหน่ำข้างกระทรวงศึกษาธิการขณะนี้ ต้องการอะไรมากที่สุด
-
การแปลงผืนป่าให้เป็นคาร์บอนเครดิตไม่ช่วยลดโลกเดือด
เคยสงสัยไหมว่า อากาศก็ร้อนและแปรปรวนขึ้นทุกปี คุณภาพอากาศก็แย่ขึ้นทุกปี สิ่งแวดล้อมมีแต่แย่ลง แต่ภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมต่างพยายามบอกว่า “เราช่วยลดโลกร้อน(เดือด)ได้ ด้วยกิจกรรมชดเชยคาร์บอน”