All articles
-
จับตาแหล่งกำเนิดไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) คู่หู PM2.5 ในประเทศไทย
เมื่อฝุ่น PM2.5 ได้กลายเป็นวาระแห่งชาติที่มีแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน มาตรการสำคัญที่ท้าทายศักยภาพของรัฐบาลในการจัดการมลพิษทางอากาศอย่างยั่งยืน คือ จะลดมลพิษจากแหล่งกำเนิดอย่างไร และหนึ่งในบรรดามลพิษทางอากาศหลัก(Criteria Pollutants) นั้นคือ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ซึ่งเป็นสารตั้งต้น(precursor) ตัวสำคัญของฝุ่น PM2.5
-
ความอิหลักอิเหลื่อของวาระแห่งชาติว่าด้วยฝุ่น PM2.5
9 เดือนผ่านไป หลังจากการประชุมคณะรัฐมนตรีในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 ที่มีมติให้การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองเป็นวาระแห่งชาติ เราก็ได้เห็นแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติที่กรมควบคุมมลพิษเผยแพร่สู่สาธารณะเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ที่ผ่านมา
-
ทำไมดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยไม่ได้บอกคุณภาพอากาศ ณ เวลานั้น
ประเทศไทยเริ่มใช้ดัชนีคุณภาพอากาศ(AQI)ใหม่ที่รวม PM2.5 เข้าไปด้วยในช่วงเดือนตุลาคม 2561 เป็นต้นมา ดัชนีคุณภาพอากาศทำให้เราทราบว่าคุณภาพอากาศเป็นอย่างไรโดยเฉลี่ยในช่วงเวลา 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยจะต่างจากดัชนีคุณภาพอากาศขององค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา(U.S. AQI) ที่มีความเข้มงวดมากกว่า
-
ส่องมาตรการของภาครัฐในวันที่ฝุ่น PM2.5 ถล่มเมือง (อีกครั้ง)
หลังจากฤดูกาลฝุ่นช่วงต้นปี 2562 ในหลายพื้นที่ของประเทศได้ผ่านพ้นไปท่ามกลางคำถามของสาธารณะชนต่อมาตรการรับมือของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ช่วงเดือนกันยายน 2562 ที่ผ่านมามลพิษทางอากาศจากหมอกควันข้ามพรมแดนในสุมาตราและกาลิมันตันของอินโดนีเซียส่งผลให้คุณภาพอากาศรวมถึง PM2.5 อยู่ในระดับที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อประชาชนหลายจังหวัดทางภาคใต้
-
อาชีพจากพลังงานแสงอาทิตย์ กู้วิกฤตโลกร้อน
เนื่องจากโซลาร์เซลล์นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานได้ในระยะยาว แน่นอนว่าเมื่อมีการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ขึ้น เราก็จำเป็นต้องดูและรักษาอุปกรณ์และระบบต่างๆให้ดีเพื่อให้โซลาร์เซลล์บนหลังคาของเราผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น อาชีพการติดตั้งและบำรุงรักษาแผงโซลาร์เซลล์จึงเป็นอีกหนึ่งอาชีพใหม่ ที่กำลังขยายตัวลงไปในพื้นที่ต่างๆมากขึ้น
-
ญี่ปุ่นให้เงินกู้โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศต่างๆ ซึ่งมีการปล่อยมลพิษมากกว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินในญี่ปุ่นถึง 13 – 40 เท่า
รัฐบาลญี่ปุ่นและสถาบันการเงินระหว่างประเทศเช่น ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น(JBIC), องค์การเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น(JICA), และธนาคารเพื่อการนำเข้าและส่งออกของญี่ปุ่น(Nippon Export and Investment-NEXI)มีบทบาทในการส่งออกมลพิษไปยังประเทศต่างๆ ผ่านการให้เงินกู้โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ซึ่งพบว่ามีการปล่อยมลพิษในระดับที่มากกว่าที่กำหนดไว้ในญี่ปุ่น
-
กรีนพีซรายงานผลพื้นที่มลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั่วโลก
ผลจากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ อินเดีย โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมของนาซาระบุว่าโรงไฟฟ้าและอุตสาหกรรมที่ใช้ถ่านหินและน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิด 2 ใน 3 ของมลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ส่วนโรงกลั่นน้ำมันและโรงถลุงเหล็ก ก็เป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดมลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั่วโลกเช่นเดียวกัน
-
สำรวจเรื่องราวแสงอาทิตย์ อำเภอหลังสวน ชุมพร
ที่อำเภอหลังสวน ในจังหวัดชุมพรแห่งนี้มีกลุ่มคนอีกหลายกลุ่มที่สนับสนุนการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งวัดวาอาราม หรือการสนับสนุนในรูปแบบของการนำทักษะความรู้ของการติดตั้งโซลาร์เซลล์มาบูรณาการในหลักสูตรการสอนของโรงเรียน
-
ชาวชุมพรขับเคลื่อนความเป็นธรรมทางพลังงาน ร่วมติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปที่โรงพยาบาลหลังสวน
การติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการช่วงแรกของกองทุนแสงอาทิตย์(Thailand Solar Fund) ที่ใช้เงินบริจาคจากประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานให้กับโรงพยาบาลของรัฐ 7 แห่ง
-
จากฮิโรชิมาถึงปัจจุบัน นิวเคลียร์สามารถสร้างสันติสุขได้จริงหรือ?
เวลา 8.15 น. ของวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488 กองกำลังทหารสหรัฐฯ ได้ทิ้งระเบิดปรมาณูลงบริเวณเมืองฮิโรชิมา ของประเทศญี่ปุ่น และหลังจากนั้นเพียง 3 วัน ระเบิดปรมาณูลูกที่ 2 ได้ถูกทิ้งที่เมืองนางาซากิ