All articles
-
#SaveChana เรื่องราวการปกป้องบ้านเกิดของ ครูเฉม เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น
เรื่องราวการ #SaveCHANA ผ่านครูเฉม ครูสอนคัมภีร์ สอนศาสนาและความรู้วิชาการให้กับเด็ก ๆ ใน ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา และยังเป็นนักกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่างยาวนาน
-
ประมงพื้นบ้านล่องเรือจากทะเลถึงรัฐสภาไทยริมแม่น้ำเจ้าพระยา เรียกร้องให้บังคับใช้กฎหมายเลิกจับสัตว์น้ำวัยอ่อน
กรุงเทพฯ, 8 มิถุนายน 2565 — ภาคีเครือข่ายทวงคืนน้ำพริกปลาทูล่องเรือจอดหน้ารัฐสภาไทย และ ยื่นหนังสือต่อกรรมาธิการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หลังเดินทางกว่า 14 วัน รวมระยะทางราวหนึ่งพันกิโลเมตร เรียกร้องภาครัฐออกมาตรการควบคุมการจับสัตว์น้ำวัยอ่อน แก้วิกฤตทรัพยากรประมง
-
“ปลาเงี่ยน” ซาซิมิไทยที่เกือบหายไปเพราะปลาหมดทะเล
การนำปลาแร่สดมาทานคู่กับเครื่องเคียง คือเมนูอาหารญี่ปุ่นยอดนิยมในไทยที่เรียกกันติดปากว่า “ซาซิมิ” แต่รู้หรือไม่ว่ามีปลาทะเลไทยที่ถูกนำมาทำ “ซาซิมิ” เช่นกัน โดยเมนูนี้ทางภาคใต้เรียกว่า ปลาเงี่ยน ปลาเงี้ยน ปลาจิ้ม หรือแล้วแต่บางพื้นที่จะเรียก
-
คุยกับวิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี ถึงรูรั่วทะเลไทย หลังปฏิวัติประมงครั้งใหญ่ปี ‘58
การประมงของไทยในช่วงสิบปีหลังเป็นอย่างไร สถานการณ์ปลาทะเลอยู่ในขั้นวิกฤตจริงหรือไม่ วันนี้เราจับเข่าคุยกับ “แทป” วิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี นายกสมาคมรักษ์ทะเลไทย
-
“เสียง” ของวาฬหลังค่อมถูกบันทึกได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์
ลอนดอน 21 เมษายน 2565 – นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบเสียงคลื่นปริศนา ซึ่งขนานนามว่า “เสียงปืน” ระหว่างการศึกษาและเก็บตัวอย่างเสียงวาฬ 600 ตัว เป็นเวลา 11 วัน ที่เขตภูเขาใต้ทะเลวีมา ในมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากชายฝรั่งแอฟริกาใต้ราว 1,000 กิโลเมตร โดยเสียงนี้ไม่เคยถูกบันทึกได้มาก่อน
-
การหาข้อตกลงสนธิสัญญาทะเลหลวงยังคงล้มเหลว ขณะที่เรือกรีนพีซพบกองเรือประมงผิดกฎหมายในทะเลหลวง
- การเจรจาเพื่อหาข้อตกลงสนธิสัญญาทะเลหลวงครั้งที่สี่ ที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติยังหาข้อสรุปไม่ได้ ขณะที่เรืออาร์กติก ซันไรส์ (Arctic Sunrise) ของกรีนพีซ พบกองเรือกว่า 400 ลำ กำลังกวาดทรัพยากรทะเลในน่านน้ำเปิดทางตอนใต้ของแอนตาร์กติก
-
เรายังมีโอกาสปกป้อง เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ จากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ หากลงมือลดโลกร้อนตอนนี้
กรีนพีซ ออสเตรเลีย แปซิฟิกเผย จากรายงานฉบับล่าสุดของ IPCC ที่เตือนว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็นตัวเร่งทำให้ปะการังใน เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ ปรับตัวกับภาวะที่เกิดขึ้นไม่ทัน รวมทั้งน้ำทะเลที่อุ่นขึ้นยังทำให้ปะการังเหล่านี้แทบไม่มีโอกาสรอดชีวิตเลย รัฐบาลออสเตรเลียจะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้มากขึ้นและเร็วกว่าเดิมจากที่เคยวางแผนไว้
-
สองปีแห่งการต่อสู้ ของไครียะห์ ระหมันยะ
ฟังบทสนทนาของ “ยะห์” ไครียะ ระหมันยะ อีกครั้งหลัง 2 ปีที่เธอต่อสู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตที่เธอและชุมชนหวงแหน
-
“ทะเลก็มีชีวิต” : เสียงของชาวประมงฟุกุชิมะที่รัฐบาลญี่ปุ่นไม่เคยได้ยิน
10 ปีหลังอุบัติภัยโรงงานนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ รัฐบาลญี่ปุ่นมีมติอนุมัติให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์สามารถปล่อยน้ำเสียที่เปื้อนกัมมันตรังสีลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิกได้ โดยไม่ฟังเสียงชาวประมงท้องถิ่น
-
มูฟเมนต์ด้านสิ่งแวดล้อมของภาคประชาชนที่ควรได้รับการสนับสนุน
ชวนมาทำความรู้จักกับมูฟเมนต์ด้านสิ่งแวดล้อมภาคประชาชนที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อยืนยันว่าการเคลื่อนไหวและรวมกลุ่มของประชาชนคือการขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมโดยตรงอย่างแท้จริงของประชาชนในกระบวนการกำหนดอนาคตของตัวเอง ซึ่งควรได้รับการส่งเสริม และไม่ควรถูกควบคุมด้วยกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพ