All articles
-
นักสำรวจขยะพลาสติก กับสิ่งที่ซ่อนอยู่ในดอยสุเทพ
"ในระยะทางแค่ 10 กิโลเมตร เวลาเราขับรถผ่านแถวอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย เราจะรู้สึกว่ามันสะอาดมาก แต่พอเราลองจอดรถหยุดดู เราจะเห็นว่า ขยะมันถูกทิ้งกองไว้ข้างทางเลยไหล่เขาลงไป เหมือนเป็นการกวาดลงไปให้พ้นทาง คำถามเราคือ แล้วใครกวาด ? ทำไมต้องกวาดลงไป ? นี่คือสิ่งที่เราตั้งคำถามและสงสัยมาโดยตลอด"
-
เพราะอะไร ปกป้องมหาสมุทรจึงเท่ากับปกป้องโลกนี้
มหาสมุทรที่สมบูรณ์ ปลอดภัยมีส่วนสำคัญที่ช่วยค้ำจุนความยั่งยืนของโลกใบนี้ เพราะมหาสมุทรถือเป็นแหล่งอาหาร แหล่งทรัพยากรที่ช่วยให้ผู้คนหลายพันล้านคนมีรายได้ และยังช่วยควบคุมสภาพภูมิอากาศให้สมดุล
-
นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกออกโรงเรียกร้อง ผู้ว่า-เทศมนตรี ลดปริมาณเนื้อในโรงอาหาร
นักวิทยาศาสตร์ 65 คนจาก 11 ประเทศร่วมเรียกร้องให้บรรดาผู้ว่า และนายกเทศมนตรีในเมืองต่างๆ ทั่วโลกลดปริมาณการแจกจำหน่ายอาหารที่นำจากเนื้อสัตว์ตามโรงอาหารของหน่วยงานรัฐ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของแผนการฉุกเฉินในการรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศในขณะนี้
-
ความอิหลักอิเหลื่อของวาระแห่งชาติว่าด้วยฝุ่น PM2.5
9 เดือนผ่านไป หลังจากการประชุมคณะรัฐมนตรีในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 ที่มีมติให้การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองเป็นวาระแห่งชาติ เราก็ได้เห็นแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติที่กรมควบคุมมลพิษเผยแพร่สู่สาธารณะเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ที่ผ่านมา
-
เบื้องหลัง “เก็บรักษ์” กับ โตโน่ ภาคิน
สำรวจเบื้องหลังแนวคิด “เก็บรักษ์” ของ โตโน่ ภาคิน กับการออกไปเก็บขยะที่มากกว่าการทำให้ชายหาดสะอาด และเรื่องราวระหว่างทางที่มีคุณค่าผ่านกิจกรรม เก็บรักษ์
-
ทำไมดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยไม่ได้บอกคุณภาพอากาศ ณ เวลานั้น
ประเทศไทยเริ่มใช้ดัชนีคุณภาพอากาศ(AQI)ใหม่ที่รวม PM2.5 เข้าไปด้วยในช่วงเดือนตุลาคม 2561 เป็นต้นมา ดัชนีคุณภาพอากาศทำให้เราทราบว่าคุณภาพอากาศเป็นอย่างไรโดยเฉลี่ยในช่วงเวลา 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยจะต่างจากดัชนีคุณภาพอากาศขององค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา(U.S. AQI) ที่มีความเข้มงวดมากกว่า
-
ทำไมพลาสติกที่ใช้แล้วทิ้งจึงไม่ใช่ตัวเลือกสำหรับอนาคต
แล้วทางออกของปัญหานี้คืออะไร? ท่ามกลางขยะพลาสติกที่พุ่งทะยานขึ้นอย่างต่อเนื่อง
-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
วอชิงตัน ดีซี, สหรัฐอเมริกา, 1 ตุลาคม 2562 – รายงาน “Throwing Away the Future: How Companies Still Have It Wrong on Plastic Pollution “Solutions,” ของกรีนพีซ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเผยแพร่ในวันนี้ กระตุ้นเตือนให้ผู้บริโภคตั้งคำถามต่อวิธีการแก้ปัญหาของบรรดาบริษัทข้ามชาติที่นำมาใช้รับมือวิกฤตมลพิษพลาสติก ซึ่งแนวทางแก้ไขที่ผิดๆ เหล่านี้ เช่น การหันมาใช้กระดาษ…
-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
บริษัทข้ามชาติทั้งหลายกำลังลงทุนในเทคโนโลยีการรีไซเคิลเชิงเคมีซึ่งมีความเสี่ยงและทำให้เกิดความหวังที่ผิดๆ ซึ่งทำให้ผู้บริโภคยังคงยึดติดกับการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกต่อไป
-
ส่องมาตรการของภาครัฐในวันที่ฝุ่น PM2.5 ถล่มเมือง (อีกครั้ง)
หลังจากฤดูกาลฝุ่นช่วงต้นปี 2562 ในหลายพื้นที่ของประเทศได้ผ่านพ้นไปท่ามกลางคำถามของสาธารณะชนต่อมาตรการรับมือของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ช่วงเดือนกันยายน 2562 ที่ผ่านมามลพิษทางอากาศจากหมอกควันข้ามพรมแดนในสุมาตราและกาลิมันตันของอินโดนีเซียส่งผลให้คุณภาพอากาศรวมถึง PM2.5 อยู่ในระดับที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อประชาชนหลายจังหวัดทางภาคใต้