-
ความหวังเล็กๆของอุรังอุตัง หลังบริษัทน้ำมันปาล์มยอมอ่อนให้กับการผลักดันเรื่องป่าพรุ
เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่บริษัทน้ำมันปาล์มโดนกดดันให้จัดการฟื้นฟูป่าฝนและพื้นที่ชุ่มน้ำ หากจะดำเนินการจัดหาทรัพยากรให้กับตลาดโลกต่อไป
-
จุดยืนของกรีนพีซสากลต่อการทดลองนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ
เมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมา เกาหลีเหนือประกาศความสำเร็จในการทดลองนิวเคลียร์ โดยใช้ระเบิดไฮโดรเจนที่มีพลังทำลายมากกว่าที่เคยใช้มาก่อน คาดการณ์ว่า เป็นการทดลองนิวเคลียร์ครั้งที่หก ที่ดำเนินการโดยเกาหลีเหนือ
-
เมื่อไหร่ที่โลกของเราจะตระหนักถึงความเลวร้ายของอาวุธนิวเคลียร์?
เมื่อมองย้อนกลับไปในช่วงเวลาที่กำหนดทางเดินของชีวิตของฉัน ไม่ว่าจะทางเดินด้านวิชาชีพ หรือความสนใจส่วนตัว นั่นคือช่วงเวลาที่ฉันได้เหยียบผืนดินบนเกาะรองจ์แลป (Rongelap) ในมหาสมุทรแปซิฟิก
-
พาราควอต ยาพิษที่กระทรวงเกษตรฯ จะต้องระงับการต่อทะเบียน
เรากำลังถูกละเมิดสิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีตราบใดรัฐยังปล่อยให้ใช้สารพิษกำจัดศัตรูพืช
-
แถลงการณ์กรีนพีซ กรณีคณะกรรมการผู้ชำนาญการ (คชก.) เห็นชอบรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา จังหวัดสงขลา
กรุงเทพฯ, 19 สิงหาคม 2560 - จากการที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการ(คชก.) เห็นชอบรายงานผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ(EHIA) โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา จังหวัดสงขลาในการประชุมที่เร่งด่วน ปิดลับและปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา นางสาวจริยา เสนพงศ์ ผู้ประสานงานรณรงค์ด้านพลังงานและ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า
-
คู่มืออากาศสะอาด เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของเรา
ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2560 ค่าเฉลี่ยของความเข้มข้นฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ 19 จุดใน 14 เมืองทั่วประเทศไทยในช่วงครึ่งแรกของปี 2560 ระบุ ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของ PM 2.5 ทั้ง 14 เมืองเกินค่าความปลอดภัยตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก
-
วารสารข่าว ฉบับปี 2560
จากวันนี้ไปอีก 500 ปีข้างหน้า คุณรู้หรือไม่ว่าอายุขัยเฉลี่ยมนุษย์ในปัจจุบัน เหลือเพียง 79 ปีเท่านั้น ในทางกลับกัน ขวดพลาสติกเพียงขวดเดียวคงอยู่บนโลกได้นานถึง 500 ปี เท่ากับว่า พลาสติกทั้งหลายล้วนมีอายุยาวนานอย่างไม่น่าเชื่อ คือยาวกว่าอายุของคน และสัตว์มากถึง 6-10 เท่า!
-
ประเทศไทยยังไม่พ้นวิกฤตมลพิษทางอากาศ PM2.5 ในช่วงครึ่งแรกของปี 2560
หากในพื้นที่ใดมีมลพิษทางอากาศ ประชาชนผู้อยู่อาศัยในบริเวณนั้นก็ยากที่จะหลีกเลี่ยง นอกเสียจากจะย้ายถิ่นฐาน มลพิษทางอากาศจึงเป็นสิ่งที่ประชาชนต้องเผชิญร่วมกันอย่างเลี่ยงไม่ได้ ในช่วงครึ่งแรกของปี 2560 หลายเมืองในประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งถือเป็นความล้มเหลวที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หากประเทศไทยยังคงละเลยการแก้ไขมลพิษทางอากาศที่กำลังเป็นปัญหาเร่งด่วน
-
ค่าฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่ 14 จังหวัด (มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2560)
มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ของเมืองในประเทศไทย ช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2560
-
กรีนพีซระบุหลายเมืองในประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศในช่วงครึ่งแรกของปี 2560 และล้มเหลวที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
กรุงเทพฯ, 8 สิงหาคม 2560 – กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประมวลค่าเฉลี่ยของความเข้มข้นฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ 19 จุดใน 14 เมืองทั่วประเทศไทยในช่วงครึ่งแรกของปี 2560 ระบุ ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของ PM 2.5 ทั้ง 14 เมืองเกินค่าความปลอดภัยตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก ความเข้มข้นของ PM2.5 ในเขตเมืองเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน[1] กรีนพีซเรียกร้องให้กรมควบคุมมลพิษปรับปรุงดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยโดยนำค่าเฉลี่ยของ PM2.5มาใช้ในการคำนวณ (PM2.5 AQI)