-
เกษตรกรรมพืชตัดต่อพันธุกรรมและมลพิษทางพันธุกรรม
การปล่อยสิ่งมีชีวิตตัดต่อพันธุกรรมออกสู่ระบบนิเวศอันซับซ้อนถือเป็นการทดลองที่เป็นอันตรายต่อธรรมชาติและวิวัฒนาการนักวิทยาศาสตร์ด้านพันธุกรรมกำลังดัดแปลงชีวิตโดยการตัดต่อพันธุกรรม ผลผลิตที่ได้ คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมีวิวัฒนาการโดยธรรมชาติ และไม่สามารถอาศัยในถิ่นที่อยู่ธรรมชาติ
-
อาหารดัดแปลงพันธุกรรม
อาหารดัดแปลงพันธุกรรมคืออะไร...พืชผลดัดแปลงพันธุกรรมผลิตขึ้นโดยใช้เทคนิคในห้องทดลอง โดยนำุพันธุกรรมจากเซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปใส่ในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่ไม่มีทางเกิดขึ้นเองจากการผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ
-
หลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตในบริบทของประเทศกำลังพัฒนา : การจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
รายงานฉบับนี้ศึกษาความเป็นไปได้ในการนําหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต หรือ อีพีอาร์ (Extended Producer Responsibility หรือ EPR) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
-
พืชผล ปลา และ ต้นไม้ ตัดต่อพันธุกรรม
มอนซานโตและบริษัทเทคโนโลยีัพันธุวิศวกรรมอื่นๆ เช่น ซินเจนตา และ ไบเออร์ กำลังประดิษฐ์พืชที่ไม่มีพัฒนาการเองในธรรมชาติ ซึ่งตรงข้ามกับที่พวกเขาต้องการให้เราเชื่อ พันธุวิศวกรรมเป็นเทคโนโลยีที่ยังไม่ผ่านการทดสอบที่ทำลายกำแพงทางธรรมชาติ โดยการผสมยีนส์ข้ามสายพันธุ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่มีวันเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
-
ภาวะโลกร้อน กับ การเกิดรูโหว่ของชั้นโอโซน
การเกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน ยังเป็นประเด็นที่หลายคนยังเข้าใจผิดว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น การที่ชั้นโอโซนถูกทำลายจนเกิดรูโหว่ที่เราได้ยินกันนั้น มิได้เป็นสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น แต่จะทำให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตผ่านเข้ามายังพื้นโลกมากขึ้น
-
เศรษฐศาสตร์พลังงานนิวเคลียร์
ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา คำสั่งซื้อเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใหม่ลดลงอย่างมากทั่วโลกเหตุผลประการหนึ่งคือเศรษฐกิจที่ตกต่ำซึ่งเป็นเหตุให้คนละทิ้งพลังงานนิวเคลียร์
-
ถ่านหิน – มหันตภัยโลกร้อนหมายเลข 1
จากเหมืองถ่านหินไปจนถึงการเผาไหม้ ถ่านหินได้ก่อให้เกิดความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม ที่กลายเป็นปัญหาระดับโลก เนื่องจากถ่านหินสกปรกมากกว่าก๊าซและน้ำมัน นอกจากนี้ยังเป็นตัวการใหญ่ที่ส่งผลให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขยายขอบเขตความรุนแรงขึ้น
-
“โลกร้อน 5 องศา” เรื่องและภาพความจริงก่อนโลกหายนะ
หยุดโลกร้อน! ด้วยตัวเรา กับหนังสือ ‘โลกร้อน 5 องศา’ “คำถามไม่ได้อยู่ที่ว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นแล้วหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่า ในสถานการณ์อันเร่งด่วนนี้ เราทั้งหลายจะสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้เร็วพอหรือไม่” โคฟี อันนัน อดีตเลขาธิการสหประชาติ พฤศจิกายน 2549
-
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ
เอกสาร ‘โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ’ เล่มนี้ ไม่ได้มีเป้าหมายที่จะคัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้ได้ แต่พยายามให้ข้อมูลและข้อเท็จจริงอีกด้านหนึ่งรวมทั้งทางเลือกที่เป็นไปได้ของสังคมไทยในกรณีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
-
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและประเทศไทย : วิกฤตหรือโอกาส
รายงานฉบับนี้รวบรวมข้อมูลจากการประเมิน (Assessment) ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovermental Panel on Climate Change - IPCC) และการศึกษาในประเทศไทย เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความตระหนักในผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อสาธารนทั่วไป