-
แถลงการณ์กรีนพีซ : ตราบใดที่ไม่มีระบบตรวจสอบย้อนกลับ ใครก็แก้วิกฤตฝุ่นพิษ PM2.5 ข้ามแดนไม่ได้
การกำหนดบังคับใช้นโยบายเพื่อแก้ปัญหาฝุ่นพิษข้ามแดนจากต้นเหตุได้อย่างแท้จริงจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากยังขาดการบังคับใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับตลอดห่วงโซ่การผลิตทุกขั้นตอน และการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสของบริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
-
เราต้องการความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศอย่างเร่งด่วน !
ปี 2566 ที่ผ่านมาถือเป็นปีที่ทั่วโลกพูดถึงประเด็นการขับเคลื่อนเรื่อง ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ มากขึ้น โดยมีจำนวนคดีการฟ้องร้องเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวเกิดเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเราจะมาวิเคราะห์กันว่าเป็นเพราะอะไร
-
สนธิสัญญาพลาสติกโลก สู่การยุติมลพิษพลาสติก สำคัญอย่างไรต่อสังคมไทย – ภาคประชาสังคมร่วมแถลงการณ์ต่อการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อยุติมลพิษพลาสติก
ภาคประชาสังคมร่วมแถลงการณ์ต่อการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อยุติมลพิษพลาสติก
-
ป่าไม้ จิตวิญญาณ และความเป็นผู้นำหญิงปกาเกอะญอของแม่หลวงหน่อแอ่ริ
ไม่บ่อยนักที่เราจะเห็นผู้นำหญิง หรือ “แม่หลวง” ในชุมชนปกาเกอะญอ ในบทสัมภาษณ์นี้กรีนพีซจะพาไปสำรวจความคิดของ หน่อแอ่ริ ทุ่งเมืองทอง ถึงความเป็นหญิงและบทบาทผู้นำชนพื้นเมืองท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งวิกฤตโลกร้อนและนโยบายของประเทศและโลกที่ยังไม่ได้ยอมรับสิทธิของผู้หญิงและชนพื้นเมืองอย่างเท่าเทียม
-
รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2566 ของ IQAir ระบุไทยมีคุณภาพอากาศแย่ติด 1 ใน 5 ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2566 ของ IQAir ระบุว่าประเทศไทยมีคุณภาพอากาศในระดับที่แย่เป็นอันดับที่ 5 จากทั้งหมด 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
-
แนวปะการังเกรท แบริเออร์ เผชิญกับเหตุการณ์การฟอกขาวขนาดใหญ่ครั้งที่ 7 ส่งคำเตือนที่สิ้นหวังในการยุติยุคเชื้อเพลิงฟอสซิล
หน่วยงานอุทยานทางทะเล Great Barrier Reef ยืนยันอย่างเป็นทางการในวันนี้ว่า สิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกนี้ถูกคุกคามจากเหตุการณ์ฟอกขาวครั้งที่ 7 โดยในช่วงเวลา 8 ปี ที่ผ่านมา ได้เกิดการฟอกขาวขนาดใหญ่ไปแล้ว 5 ครั้ง
-
สมัย พันธโครตร : พลังหญิงกับการปกป้องผืนป่าจากการแย่งยึดของรัฐโดยอ้างนโยบาย BCG
‘สมัย พันธโครตร’ คือนักปกป้องสิทธิมนุษยชนหญิงจากกลุ่มอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลายที่สูญเสียที่ดินไปกว่า 21 ไร่ เธอเปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามายึดพื้นที่พร้อมอาวุธติดตัว รื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ตัดต้นยางพารา มันสำปะหลัง ผู้ใหญ่บ้านประกาศเสียงตามสายห้ามเข้าพื้นที่ หากถูกจับกุมจะไม่รับผิดชอบ
-
BCG และการชดเชยคาร์บอนด้วยป่าไม้: นโยบายโลกร้อนเพื่อใคร?
ส่วนหนึ่งของงานนิทรรศการ BCG แย่งยึดอะไรที่คำป่าหลาย: นโยบายฟอกเขียวในนามความยั่งยืน หรือการแย่งยึดแผ่นดินราษฎร คือเวทีเสวนาที่ชวนตัวแทนจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล พรรคการเมืองฝ่ายค้าน ตัวแทนชุมชนผู้ได้รับผลกระทบ และนักวิชาการ มาร่วมกันถกในประเด็นโมเดลเศรษฐกิจ BCG ที่มาพร้อมกับกลไกตลาดคาร์บอน (Carbon Market) ที่เอื้อให้บริษัทอุตสาหกรรมซื้อขายคาร์บอนเครดิตจากป่าไม้ได้ แต่ข้อกังวลของชุมชนผู้ได้รับผลกระทบและภาคประชาสังคมคือ การลิดรอนสิทธิมนุษยชนอันเกิดมาจากการแย่งยึดที่ดิน
-
เปิดข้อมูลวิจัย ‘นโยบายทวงคืนผืนป่า’ นำชุมชนไปสู่ ‘ความยากจนฉับพลัน’
เป็นระยะเวลากว่า 9 ปีที่เราได้ยินคำว่า ‘นโยบายทวงคืนผืนป่า’ ซึ่งประกาศใช้โดยรัฐบาลทหาร คสช. ผ่านการนำเสนอในสื่อต่าง ๆ แต่เคยทราบหรือไม่ว่าเบื้องหลังการ ‘ทวงคืน’ นี้เกิดผลกระทบอะไรบ้างนอกจากรัฐได้ผืนป่าคืน ?
-
ครบรอบหนึ่งปีสนธิสัญญาทะเลหลวง กรีนพีซจี้รัฐบาลเร่งให้สัตยาบันปกป้องมหาสมุทร
ครบรอบหนึ่งปี การบรรลุข้อตกลงสนธิสัญญาทะเลหลวงในการประชุมสหประชาชาติ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีเพียงสองประเทศเท่านั้นที่ให้สัตยาบันสนธิสัญญาและบรรจุเป็นกฎหมายในประเทศ