-
เส้นทางการต่อสู้คัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย : จุดยืนของเราคือไม่เอาเหมืองถ่านหิน!
“4 ปีที่ผ่านมา เราต่อสู้ตามสิทธิของตัวเองและสู้เพื่อชุมชนของเรา เราคิดว่าไม่ควรมีชุมชนไหนควรได้รับผลกระทบจากถ่านหินหรือการพัฒนาของรัฐที่ไม่คำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รัฐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทุนควรเข้าใจบริบทชุมชน วิถีชุมชน และคำนึงถึงตัวชุมชนมากๆ และไม่เอาเปรียบชาวบ้าน
-
เวลาของถ่านหินหมดลงแล้ว: ครบรอบ 4 ปี การต่อสู้โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย ชุมชนและภาคประชาสังคมร่วมเรียกร้องรัฐบาลใหม่ปลดระวางถ่านหิน
กรีนพีซ ประเทศไทยและเครือข่ายจัดกิจกรรม ‘Omkoi Coal or Home นิทรรศการ 4 ปี การต่อสู้และเสียงคนอมก๋อย’ ที่ลานหน้าคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อทบทวนการต่อสู้ตลอด 4…
-
สรุปเสวนาถอดบทเรียนยกร่างสนธิสัญญาทะเลหลวง
สัมมนาทางวิชาการ “เรื่อง UN Ocean Treaty : ถอดบทเรียนกระบวนการยกร่างสนธิสัญญาพหุภาค” ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้มีการพูดคุยสรุปประเด็นสนธิสัญญาฉบับนี้ในแง่กฎหมาย ถอดบทเรียนการได้มาซึ่งสนธิสัญญา พร้อมถกความท้าทายที่จะเกิดขึ้นหลังการลงนามสนธิสัญญาอย่างเป็นทางการ บล็อกนี้เราสรุป 3 ข้อที่น่าสนใจจากการเสวนาครั้งนี้
-
อมก๋อย แหล่งอากาศดีที่อาจสิ้นสูญ : แผนที่ความเสี่ยงต่อมลพิษทางอากาศกรณีดำเนินโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย ตำบลกะเบอะดิน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อให้กระบวนประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (CHIA) ดำเนินไปจนสุดกระบวนการอันจะนำมาสู่การนำข้อมูลไปประกอบการตัดสินใจของภาคส่วนต่างๆ โครงการวิจัยจึงดำเนินการในขั้นตอนการประเมินผลกระทบดังกล่าวเพื่อตอบโจทย์ด้านมลพิษอากาศอันเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญที่กำหนดขอบเขตโดยชุมชนอมก๋อย
-
หลายประเทศยังขาดความมุ่งมั่นเพื่อแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ในการประชุมระดับผู้นำว่าด้วยการดำเนินการสภาพภูมิอากาศ (Climate Ambition Summit)
แม้ว่าจะมีนักกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมหลายหมื่นหลายพันคนออกมาแสดงเจตจำนงถึงความต้องการให้ผู้นำแต่ละประเทศต้องลงมือแก้ไขวิกฤตนี้อย่างเร่งด่วน แต่ผู้ก่อมลพิษหลักที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณมหาศาลยังไม่ดำเนินการตามมาตรการของรัฐบาลทั้งหมด
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมที่เลือนลาง ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 11 กันยายน 2566
จากการเลือกตั้ง 2566 มาสู่การจัดตั้งรัฐบาล กรีนพีซ ประเทศไทยติดตามตรวจสอบนโยบายสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศ เริ่มต้นจากการทำ check list ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา
-
การตอบโต้ของชาวคำป่าหลายต่อการแย่งยึดที่ทำกินและการฟอกเขียว
นอกจาก “ทวงคืนผืนป่า” ที่เป็นมรดกของการใช้อำนาจที่บิดเบี้ยว ยังมี “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ที่ผลักดันโดยอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพลังงานสะอาดที่ฟอกเขียว ที่ซ้อนทับลงไปบนชะตากรรมของ “คำป่าหลาย” อีกชั้นหนึ่ง
-
เราเรียนรู้อะไรจากการทำความสะอาดชายฝั่ง และการสำรวจแบรนด์จากขยะ (Brand Audit) และมลพิษพลาสติกบ้าง
ปัจจุบันวิกฤตมลพิษพลาสติกเป็นปัญหาใหญ่ที่เราไม่สามารถมองข้ามได้ เราเห็นขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งถูกทิ้งอยู่เต็มไปหมดหลัง ดังนั้นในวันที่ 16 กันยายน ซึ่งเป็นวันทำความสะอาดชายฝั่งสากล (International Coastal Clean-Up Day) เราจึงอยากย้ำเตือนถึงปัญหาจากขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งที่เป็นปัญหาระดับร้ายแรง และปัญหานี้จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนและทั่วโลกต้องร่วมมือกันด้วย
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 2 : ขยะสิ่งทอและเสื้อผ้าที่รอกำจัดด้วยการเผา
บริษัทเหล่านี้มีสต็อกเสื้อผ้าที่ขายไม่ออกอยู่มหาศาล เนื่องจากการผลิตในปริมาณมากทำให้ต้นทุนการผลิตถูกลง และวิธีระบายขยะเสื้อผ้าเหล่านี้ก็คือการส่งไปยังเตาเผา แต่บริษัทยังคงเก็บวิธีการกำจัดเสื้อผ้าแบบนี้ไว้เป็นความลับ โดยไม่ระบุว่ามีขยะเสื้อผ้าที่ถูกส่งไปยังเตาเผาในปริมาณเท่าไหร่
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 1 : ปัญหาขยะพลาสติกที่เกิดจากอุตสาหกรรมแฟชั่น
เพราะพลาสติกถูกผลิตขึ้นโดยใช้น้ำมันและก๊าซ และใยโพลีเอสเตอร์ก็ทำมาจากพลาสติกผสานเส้นใยกลายเป็นเสื้อผ้า คาดว่าปัจจุบันมีเสื้อผ้ามากกว่าครึ่งจากปริมาณเสื้อผ้าที่ถูกผลิตขึ้นที่ใช้วัสดุสังเคราะห์เช่น ใยโพลีเอสเตอร์ เป็นต้น ซึ่งวัสดุเหล่านี้มักไม่สามารถย่อยสลายหรือไม่สามารถรีไซเคิลได้ และสุดท้ายก็กลายเป็นปัญหาขยะพลาสติกที่มีปริมาณมหาศาล