-
มองปัญหาฝุ่นไทย : ทำไมการจัดการไม่ไปไหนสักที และเหตุใดเรื่องนี้จึงไม่จบแค่เริ่มที่ตัวเอง
ทำไมการจัดการฝุ่นไทยไม่ไปไหนสักที แท้จริงแล้วปัญหาติดอยู่ตรงไหน และทำไมเรื่องนี้จึงไม่จบแค่เริ่มที่ตัวเอง
-
ป่าแอมะซอนถูกทำลายสูงขึ้น ทำลายสถิติเดิม
ในเดือนกุมภาพันธ์ ข้อมูลจาก ดาวเทียมดีเทอร์ (DETER) พบการทำลายป่าแอมะซอนเพิ่มขึ้นในระดับสูงมาก โดยพบว่าป่าแอมะซอนถูกทำลายเป็นวงกว้างในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทำให้นักวิทยาศาสตร์ออกมาเตือนให้รับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นโดยเร่งด่วน
-
เทคนิคโคกสำโรงวิทยาลัยแสงอาทิตย์แห่งแรกลพบุรี ติดโซลาร์รูฟท็อปปลดล๊อคค่าไฟฟ้าแพง
นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา ของวิทยาลัยเทคนิคโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี ร่วมกันเปิดตัว “โซลาร์เจเนอเรชั่น วิทยาลัยแสงอาทิตย์ (SOLAR GENERATION)” สร้างการเรียนรู้และการจ้างงานจากพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นปีที่ 2 ของกองทุนแสงอาทิตย์
-
ตีแผ่ภาวะฉุกเฉิน สภาพภูมิอากาศ: บริษัทผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคช่วยอุตสาหกรรมน้ำมันยักษ์ใหญ่ ขยายการผลิตพลาสติกได้อย่างไร
รายงานฉบับนี้ เราจะสำรวจว่า แบรนด์ผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคนั้นล้มเหลวที่จะลดการพึ่งพาพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งอย่างมีนัยสำคัญ และการลงทุนอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อขยายกำลังการผลิตพลาสติกนั้นนำไปสู่ความนิยมพลาสติก (plastic boom) ที่อาจขยายกำลังการผลิตเป็น 3 เท่าภายในปี 2593 ได้อย่างไร
-
สงครามและความเปราะบางของระบบอาหารเชิงอุตสาหกรรม
สงครามรัสเซีย-ยูเครนนอกจากจะสร้างแต่ความสูญเสียมหาศาลต่อชาวยูเครนแล้ว ยังส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบอาหารของโลกที่พึ่งพาการผลิตเชิงอุตสาหกรรมและพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล นานาประเทศกำลังกังวลถึงภาวะขาดแคลนอาหารที่อาจเกิดขึ้น หากรัสเซียไม่หยุดยั้งสงครามในเดือนเมษายน
-
‘เมื่อเทรนด์โซลาร์เซลล์กำลังมา ครูเทคนิคฯต้องตามให้ทัน’ พูดคุยกับคุณครูวิทยาลัยเทคนิคสกลนครกับหลักสูตรเซลล์แสงอาทิตย์ที่ตอบโจทย์ด้านสิ่งแวดล้อมและการสร้างอาชีพ
รอบๆแผนกวิชาไฟฟ้ากำลังเต็มไปด้วยตัวอย่างงานการทดลองที่นำโซลาร์เซลล์มาประยุกต์ใช้ จำนวนหนึ่ง ครูมงคล หรือนายมงคล เกตวงษา คุณครูแผนกวิชาไฟฟ้ากำลัง เล่าที่มาที่ไปว่าทำไมวิทยาลัยแห่งนี้จึงมีการทดลองด้านพลังงานแสงอาทิตย์อยู่รอบๆแผนกเต็มไปหมด
-
เกษตรพันธสัญญากับชีวิตเกษตรกรไทย มูฟออนยังไงก็เป็นวงกลม
ในเดือนมีนาคมที่ฝุ่นควันภาคเหนือปกคลุมทั่วเมืองเชียงใหม่ เราชวน รศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ เจ้าของผลงานหนังสือ ‘บ่วงบาศพิฆาตเกษตรกร’ มาพูดคุยกันถึงประเด็นที่ไม่เคยตกยุคจากสังคมไทย และตั้งคำถามว่าระบบการเกษตรแบบไหนที่ทำให้ชีวิตพวกเขาต้องลำบากและตกอยู่ในบ่วงหนี้สินที่ไม่ว่าจะพยายามแค่ไหนก็ดิ้นไม่หลุดเสียที
-
จุดแสงสว่างกลางหุบเขา กะเบอะดิน ดินแดนมหัศจรรย์
งานชิ้นนี้ คือส่วนหนึ่งในศักยภาพสำคัญของคนกะเบอะดินในการลงแรงร่วมกันสร้างเครื่องมือการประเมินผลกระทบโดยชุมชนที่ประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (Community Health Impact Assessment: CHIA) โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนท้องถิ่นในการค้นหา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สรุปประเด็นสำคัญอย่างรอบด้านบนฐานของความรู้ในหลายมิติ โดยเฉพาะการเคารพต่อองค์ความรู้ของชุมชนท้องถิ่น (traditional knowledge/local knowledge)
-
รายงานคุณภาพอากาศโลกของ IQAir พบว่าร้อยละ 97 ของเมืองทั่วโลกไม่ผ่านค่าแนะนำคุณภาพอากาศล่าสุดของ WHO
รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2564 จาก IQAir พบว่ามีเมืองเพียงร้อยละ 3 ทั่วโลกที่มีมีระดับคุณภาพอากาศผ่านเกณฑ์ค่าแนะนำคุณภาพอากาศล่าสุดขององค์การอนามัยโลก (WHO) ในขณะที่ยังไม่มีประเทศใดในโลกที่ผ่านเกณฑ์ค่าแนะนำดังกล่าว
-
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม กรีนพีซ ประเทศไทย มูลนิธิบูรณะนิเวศ สภาลมหายใจเชียงใหม่/ภาคเหนือ และนักกิจกรรมทางสังคม ร่วมเป็นผู้ฟ้องคดีฝุ่น PM2.5
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม กรีนพีซ ประเทศไทย มูลนิธิบูรณะนิเวศ สภาลมหายใจภาคเหนือ สภาลมหายใจเชียงใหม่ นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ นักกิจกรรมทางสังคม และ นันทิชา โอเจริญชัย เยาวชนนักสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมเดินทางไปที่ศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะโดยเป็นโจทก์ร่วมฟ้องคดีปกครองต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ กระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักที่ละเลยการปฎิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัดในการคืนอากาศสะอาดซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน