-
โรคระบาดจากชั้นดินเยือกแข็ง – น้ำแข็งละลายในอาร์กติก ทำให้เกิดโรคระบาดร้ายแรงได้จริงหรือ?
ในเดือนพฤศจิกายน 2562 กลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลกมารวมตัวที่เมืองฮันโนเฟอร์ เยอรมนี เพื่อร่วมลงพื้นที่วิจัย นักวิทยาศาสตร์ที่มาร่วมการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาภูมิอากาศวิทยา ธรณีวิทยา และไวรัสวิทยา โดยร่วมกันแชร์ประสบการณ์ด้านวิชาชีพเป็นครั้งแรก และยังพูดถึงภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นหากจุลินทรีย์ถูกปลดปล่อยออกมาจากชั้นดินเยือกแข็ง
-
ทำไมการเก็บภาษีคนรวยและมูฟเมนต์สิ่งแวดล้อมจึงเกี่ยวข้องกัน?
ทำไมกรีนพีซซึ่งเป็นองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมจึงพูดถึงการเก็บภาษีคนรวย? เจนนิเฟอร์ มอร์แกน ผู้อำนวยการบริหาร กรีนพีซ สากล ให้ความสำคัญกับการเรียกร้องให้รัฐบาลทั่วโลกต่อสู้กับความเหลื่อมล้ำ โดยผู้มั่งคั่งที่สุดในโลกต้องมีส่วนรับผิดชอบ
-
#น้ำมันรั่วChevronSPRC หายนะทะเลไทย และคำถามสำคัญต่อภาระรับผิดของอุตสาหกรรมฟอสซิล
น้ำมันรั่วจะเกิดขึ้นหรือไม่ ต้องถามว่ามันจะเกิดขึ้นเมื่อไร” การรั่วไหลของน้ำมันเป็นผลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงของยุคเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นอันตราย และข้อมูลการรั่วไหลของน้ำมันมักจะไม่สมบูรณ์
-
เนื้อเทียม ≠ ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเสมอไป
แน่นอนว่าการผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์ในระบบอาหารแบบอุตสาหกรรมนั้นส่งผลเสียต่อระบบนิเวศ คุณภาพชีวิตของสัตว์ รวมถึงผู้บริโภคและเกษตรกรอย่างใหญ่หลวง แล้วเนื้อสัตว์ทางเลือกอย่างเนื้อสัตว์จากพืช หรือ “เนื้อเทียม” ล่ะ ในแง่ของสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร
-
หลายประเทศเริ่มหันมาใช้กฎหมายที่เน้นการใช้ซ้ำและการเติม เพื่อหยุดพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เราได้เห็นการเปลี่ยนผ่านอย่างค่อยเป็นค่อยไปของโมเดลธุรกิจที่ใช้ระบบการใช้ซ้ำและการเติมเกิดขึ้นทั่วโลก แต่ถึงเวลาของเราแล้วที่จะต้องลงมือขยายระบบดังกล่าวไปสู่อุตสาหกรรมและชุมชนให้รวดเร็วขึ้น โดยเฉพาะการผลักดันผ่านนโยบายและกฎหมาย
-
บริษัทสตาร์ปิโตรเลี่ยม รีไฟน์นิ่ง จำกัด มหาชน (SPRC) ต้องมีภาระรับผิดต่ออุบัติภัยน้ำมันรั่ว ถึงเวลาที่รัฐบาลไทยต้องปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล
จากเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วไหลจำนวน 400,000 ลิตร จากท่อใต้ทะเลของทุ่นรับน้ำมันดิบกลางทะเล ของบริษัทสตาร์ปิโตรเลี่ยม รีไฟน์นิ่ง จำกัด มหาชน (SPRC) กรีนพีซ ประเทศไทย ในฐานะเป็นองค์กรอิสระรณรงค์เพื่อความเป็นธรรมด้านสิ่งแวดล้อม มีความเห็นและข้อเรียกร้องดังต่อไปนี้
-
มูฟเมนต์ด้านสิ่งแวดล้อมของภาคประชาชนที่ควรได้รับการสนับสนุน
ชวนมาทำความรู้จักกับมูฟเมนต์ด้านสิ่งแวดล้อมภาคประชาชนที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อยืนยันว่าการเคลื่อนไหวและรวมกลุ่มของประชาชนคือการขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมโดยตรงอย่างแท้จริงของประชาชนในกระบวนการกำหนดอนาคตของตัวเอง ซึ่งควรได้รับการส่งเสริม และไม่ควรถูกควบคุมด้วยกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพ
-
Enlaw และกรีนพีซ ประเทศไทยจี้หน่วยงานรัฐทำหน้าที่ปกป้องสุขภาพประชาชนจาก PM 2.5
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) และกรีนพีซ ประเทศไทย เดินทางไปกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อทวงสิทธิอากาศสะอาดของประชาชน และผลักดันหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ PM2.5 โดยเร่งด่วน
-
ตีแผ่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ : 7 มายาคติในโฆษณาโดยนายทุนขายเนื้อ
เราอาจเห็นความอุดมสมบูรณ์ในแวดวงการตลาดเนื้อสัตว์ (Meat’s Marketing)แต่เบื้องหลังภาพฉายอันสวยงามของการตลาดที่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์มอบให้เราเพื่อเพิ่มการบริโภคนั้น ยังมีความจริงอีกมุมหนึ่งที่ซ่อนอยู่
-
2564 : ปีที่เกิดสภาพอากาศสุดขั้วจนทำลายสถิติ
ภาวะโลกร้อนและอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่เพิ่มขึ้นนั้นไม่มีพรมแดน ในปี 2564 เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว (Extreme Weather events) เกิดขึ้นทั่วโลกแทบจะทุกเดือนของปี เรารวบรวมภาพถ่ายผลกระทบหลังจากเกิดสภาพอากาศรุนแรงสุดขั้วมาบางส่วนเพื่อเป็นหลักฐานถึงผลกระทบต่อผู้คนที่ต้องเผชิญกับเหตุการณ์เหล่านี้