-
หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน
ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง
-
COP26 ควรจะให้ความสำคัญกับการลดการลงทุนอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้ว่า COP26 ที่กลาสโกว์ จะไม่ได้กำหนดให้อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นหนึ่งใน 4 เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดเป็นรูปธรรม แต่การที่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึงร้อยละ 19 ของการปล่อยเรือนกระจกทั้งหมดทั่วโลกตามข้อมูลล่าสุดของรายงาน IPCC เราจะมาสำรวจประเด็นดังกล่าวนี้กัน
-
กรีนพีซย้ำ การวิเคราะห์ล่าสุดของ Climate Action Tracker ชี้ถึงอนาคตที่เป็นหายนะ
การวิเคราะห์ของ The Climate Action Tracker พบว่า เมื่อพิจารณาจากแผนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2573 ของรัฐภาคีสมาชิกทั้งหมดภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกจะยังคงเพิ่มขึ้นเป็น 2.4 องศาเซลเซียสในปี 2643 จากการวิเคราะห์ถึงปฏิบัติการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แต่ละประเทศทั่วโลกลงมือทำจริงๆ (ไม่ใช่แผนงานบนแผ่นกระดาษ) อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกจะเพิ่มขึ้นไปอีกเป็น 2.7 องศาเซลเซียสในปี 2643
-
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเติมเชื้อไฟการเหยียดเชื้อชาติหรือไม่
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบถึงผู้คนทั่วโลก แต่คนผิวสีมักเป็นคนกลุ่มแรกที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติธรรมชาติ คนผิวสีมีเปอร์เซ็นต์ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติมากกว่า อาทิ อุทกภัย คลื่นความร้อน ภัยแล้ง ไฟป่า ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น หากวิกฤตการณ์รุนแรงขึ้น สถานการณ์ของคนกลุ่มนี้จะเลวร้ายลงไปอีก แล้วเช่นนี้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเติมเชื้อไฟการเหยียดเชื้อชาติหรือไม่?
-
กรีนพีซตอบโต้ – ร่างแรกของความตกลงกลาสโกว์มีเนื้อหาที่ “ไม่หนักแน่นอย่างยิ่ง” และไม่เอ่ยอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล
ร่างแรกของเนื้อหาการตัดสินใจ (decision text) ของความตกลงกลาสโกว์ไม่มีการอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล - แย้งกับคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ
-
Net Zero Emission : ถอดรหัสถ้อยแถลงของรัฐบาลไทยที่ COP26 กลาสโกว์
ถอดรหัสถ้อยแถลง Net Zero Emission ของรัฐบาลไทยใน COP26 ที่กำกวมและขาดความชัดเจน เพื่อทำความเข้าใจต่อจุดยืนและบทบาทของประเทศไทยในเรื่องปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ
-
กรีนพีซสรุปความคืบหน้าช่วงสัปดาห์แรกของ COP26
ทั้งด้านในและด้านนอกเวทีการประชุม COP26 เสียงจากประเทศต่างๆ และชุมชนที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดจากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศมีพลังเพิ่มขึ้นและเรียกร้องให้ผู้นำโลกลงมือทำ
-
‘กลุ่มลันกิต (Langit Collective)’ กิจการเพื่อสังคมช่วยชาวนามาเลฯขายข้าวพันธุ์ท้องถิ่นที่คนปลูกและคนกิน วิน-วิน
กลุ่มลันกิต (Langit Collective) มาเลเซีย กิจการเพื่อสังคมที่ขายข้าวพันธุ์พื้นเมืองเก่าแก่ที่ปลูกโดยชุมชนลุนบาวัง แขวงซาราวัก มาเลเซีย สร้างตลาดใหม่สำหรับผลิตผล พัฒนา ยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรด้วยราคาที่เป็นธรรม และส่งเสริมการทำเกษตรแบบยั่งยืนซึ่งจะช่วยอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ที่ตกทอดมารุ่นสู่รุ่น
-
Coastal Lives during Covid-19 : ชีวิตที่เปลี่ยนไปของแรงงานประมงข้ามชาติในอุตสาหกรรมประมง
หลังการระบาดของโควิด-19 ตอนนี้คนงานข้ามชาติโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารทะเลมีชีวิตเป็นอย่างไร วิถีชีวิตของพวกเขาเปลี่ยนไปแค่ไหน ?
-
สำรวจผลกระทบของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และอนาคตของระบบอาหาร สรุปวงเสวนา‘ลดเนื้อเพื่ออออ…?’
ลดเนื้อเพื่ออออ…?’ วงเสวนาจาก กรีนพีซ ไทยแลนด์ ชวน ฐิตา พลายรักษา จากเพจ TITA.VEGANISTA, วรรณแวว หงษ์วิวัฒน์ จาก KRUA.CO, นิชาภา นิศาบดี เจ้าของร้านอาหารสมถะ, กานดา ชัยสาครสมุทร นิสิตจุฬาฯ ที่เคยเลิกกินเนื้อสัตว์ และ รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ จากกรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงจุดเริ่มต้นในการหันมาลดการกินเนื้อ สำรวจผลกระทบของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ ไปจนถึงเหตุผลที่ระบบอาหารไม่ควรอยู่ภายใต้การผูกขาดของกลุ่มอุตสาหกรรม