-
กระแส #NoCPTPP และจุดยืนของกรีนพีซว่าด้วยข้อตกลงทางการค้า
เพื่อให้ได้มาซึ่ง “ระบบการค้าที่เป็นธรรม เท่าเทียมและโปร่งใส” โลกาภิวัตน์จะต้องอยู่ภายใต้กรอบกติกา โดยกรอบกติกาดังกล่าวนี้ต้องเคารพในคุณค่าของชาติและวัฒนธรรม เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และดำเนินการตามเป้าหมายของความตกลงด้านพหุภาคีของสหประชาชาติอย่างสัมฤทธิผล
-
สันดอนทรายจากมนุษย์ : วิกฤตสิ่งแวดล้อมที่กระทบถึงชีวิตรอบอ่าวปัตตานี
ผ่านมานับสิบปี อ่าวปัตตานีที่เขาคุ้นเคยเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง เพราะผลกระทบจากประมงทำลายล้าง สารเคมีจากโรงงาน การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน และล่าสุดการขุดลอกอ่าวที่ทำให้เกิดสันดอนทรายขนาดใหญ่ ไม่เพียงกระทบระบบนิเวศ แต่รวมถึงวิถีชีวิตและเศรษฐกิจของคนในชุมชนรอบอ่าวด้วย
-
ครั้งแรกในเอเชีย! เซเว่น อีเลฟเว่นไต้หวันประกาศยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เซเว่น อีเลฟเว่นไต้หวัน เป็นร้านค้าปลีกรายแรกในเอเชียที่ออกมาให้คำมั่นว่าจะยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง นี่เป็นความคืบหน้าที่สำคัญของการรณรงค์ยุติมลพิษพลาสติกของกรีนพีซ ไต้หวัน
-
ครั้งแรกในเอเชีย เซเว่น-อีเลฟเว่นในไต้หวันประกาศยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ไต้หวัน, 6พฤษภาคม 2564 - เซเว่น อีเลฟเว่น ไต้หวัน ประกาศยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งภายในปี 2593 นับเป็นเครือข่ายร้านสะดวกซื้อแห่งแรกในเอเชียที่ประกาศลดใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง โดยคาดว่าภายในปีพ.ศ.2566 บรรจุภัณฑ์สินค้าที่เป็นพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งจะมีไม่เกิน 20 % ของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในร้านทั้งหมด
-
แถลงการณ์กรีนพีซ ประเทศไทย นายกรัฐมนตรีต้องชี้แจงต่อสาธารณะอย่างโปร่งใสถึงกรณี CPTPP ในการประชุมคณะรัฐมนตรี และปฏิเสธการเข้าร่วม CPTPP อย่างถาวร
“ขณะนี้มีผู้ลงชื่อเรียกร้องให้รัฐบาล ปฏิเสธการเข้าร่วมความตกลง CPTPP กว่า 138,000 คน รัฐบาลจะต้องฟังเสียงประชาชนที่แสดงความกังวลถึงอนาคตของประเทศ”
-
กรีนพีซเปิดผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ระบุช่วง 6 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกลายเป็นไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10.6 ล้านไร่ และโยงกับมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดน
รายงาน ได้ขยายการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และนัยยะสำคัญของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่มีต่อการกระจายตัวและความเข้มข้นของมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดนในช่วงปี 6 ปีที่ผ่านมา
-
“มาเป็นสายเนื้อกันเถอะ!” ชาวยุโรปอาจกำลังจ่ายภาษีเพื่อโฆษณาสิ่งนี้
อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมในยุโรปกำลังประสบปัญหา เมื่อผู้คนจำนวนมากขึ้นไม่ต้องการบริโภคสเต็ก เนื้อบด หรือปีกไก่ แต่โฆษณาเข้ามาช่วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์อย่างไร
-
ครบรอบ 35 ปีหายนะภัยนิวเคลียร์เชอร์โนบิล เราจำเป็นต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่หรือไม่?
ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์ยังคงกำลังศึกษาผลกระทบของหายนะภัยนิวเคลียร์เชอร์โนบิลที่เกิดขึ้นเมื่อ 35 ปีที่แล้ว แต่ดูเหมือนว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะไม่ได้สร้างบทเรียน เพราะรัฐบาลและบริษัทยังคงพยายามที่จะสนับสนุนให้มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่ขึ้นอีก
-
คำมั่นสัญญาอันน้อยนิดของผู้นำโลกในการประชุมสุดยอดผู้นำด้านสภาพภูมิอากาศกำลังพาพวกเราเข้าใกล้หายนะ
ผู้นำจากสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร จีน แคนาดา และญึ่ปุน ต่างก็ให้คำสัญญาใหม่ ๆ ในการป้องกันวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่พวกเราก็ยังไม่เห็นแผนการดำเนินงานที่เป็นรูปเป็นร่างและเส้นทางที่ชัดเจนที่จะทำตามข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) นั่นคือการควบคุมอุณหภูมิพื้นผิวโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2564
อัตราการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในสาธารณรัฐประชาชนจีนเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างรวดเร็วจนเทียบเท่ากับปริมาณการลดใช้ถ่านหินทั่วโลกทั้งหมดในปี 2563 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกของการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินทั่วโลกนับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา จะเห็นว่าได้ทำสถิติเสมอกัน โดยในปี 2563 มีการปลดระวางโรงไฟ้าถ่านหินกำลังการผลิตรวม 37.8 กิกะวัตต์ นำโดยประเทศสหรัฐอเมริกา 11.3 กิกะวัตต์ และสหภาพยุโรปอีก 10.1 กิกะวัตต์ ทว่า ความสามารถในการปลดระวางโรงไฟฟ้าถ่านหินนี้กลับถูกบดบังรัศมีเมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนดำเนินการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่