-
การชดเชยคาร์บอนเครดิตจะไม่ช่วยกู้วิกฤตโลกเดือด ถึงเวลาทางออกด้านสภาพภูมิอากาศที่แท้จริง
หากใครที่ยังไม่คุ้นเคยกับคำว่า ‘ตลาดคาร์บอน’ เราก็อยากจะขออธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า มันไม่ใช่สิ่งที่ดี เพราะความจริงแล้ว ตลาดคาร์บอนเป็นเครื่องมือที่อนุญาตให้เหล่าผู้ก่อวิกฤตโลกเดือดสามารถปล่อยมลพิษสร้างหายนะต่อสภาพภูมิอากาศต่อไปได้ ตลาดคาร์บอนจึงเป็นทั้งทางแก้ปัญหาที่ผิดและเป็นการหลอกลวง
-
ไฮปาร์คเน้น ๆ จากม็อบหยุดวิกฤตโลกเดือดที่ต้นเหตุ : ประชาชนถาม รัฐบาลหยุดเอื้อนายทุนฟอกเขียวกี่โมง?
เราอยากฝากให้รัฐบาลนำเสียงของพี่น้องชาวไทยทุกคน ทุกพื้นที่ และข้อเรียกร้องของเครือข่ายพันธมิตรที่อยากเห็นความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและต้องการให้รัฐบาลไทยที่ร่วมเจรจาในเวที COP29 จะต้องหยุดวิกฤตโลกเดือดที่ต้นเหตุ เพราะวิกฤตนี้กำลังก่อให้เกิดวิกฤตทางด้านสิทธิมนุษยชน การประชุมครั้งนี้ต้องปฏิเสธวิธีการชดเชยคาร์บอน ที่อาจเป็นเครื่องมือให้กลุ่มผู้ก่อภาวะโลกเดือดใช้กลยุทธิ์นี้เพื่อการฟอกเขียว
-
วิจัยเผย อุตสาหกรรมผลิตพลาสติกในเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน เป็นตัวการใหญ่ของวิกฤตพลาสติกและวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
งานวิจัยชิ้นใหม่โดยกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ระบุว่า อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดวิกฤตมลพิษพลาสติกและการปล่อยคาร์บอน โดยกำลังการผลิตพอลิเมอร์พลาสติกปฐมภูมิ (primary plastic polymer) จากทั้งสามประเทศรวมกันมีปริมาณมากถึง 41.99 ล้านตันต่อปี ซึ่งเป็นที่คาดการณ์ว่าทำให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 99.93 เมกะตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2e)
-
ที่ COP29 เหล่าผู้นำโลกมีโอกาสชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศได้
ในการประชุมมีการหารือเกี่ยวกับเรื่องระบบอาหาร เกษตรกรรม และทรัพยากรน้ำ โดยผู้กำหนดนโยบายที่เข้าร่วมการประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นสภาพภูมิอากาศนี้ต่างต้องยอมรับว่าระบบอาหาร (Food system) นั้นมีส่วนทำให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยมนุษย์มากถึง 37% และถ้าเราเริ่มดำเนินการอย่างจริงจังและปฏิรูประบบเหล่านี้ เราจะสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มหาศาล ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูธรรมชาติ
-
ผลการวิจัยล่าสุดเผย การผลิตพลาสติกในเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีส่วนทำให้วิกฤตมลพิษพลาสติกและวิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น
รายงานวิจัยฉบับใหม่โดย กรีนพีซ เอเชียตะวันออก เปิดโปงบทบาทสำคัญของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมในเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน ที่กำลังเป็นตัวการก่อมลพิษพลาสติกและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยรวมศักยภาพในการผลิตพลาสติกพอลิเมอร์ขั้นต้นจากทั้งสามตลาดได้ในปริมาณสูงถึง 41.99 ล้านตันต่อปี ซึ่งคาดว่าจะก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO₂e) ถึง 99.93 เมกะตัน
-
หากขาดเจตจำนงทางการเมืองจะทำให้การกู้วิกฤตโลกเดือดใน COP29 ช้ากว่าเดิม แต่เรายังมีความหวังในการฟื้นฟูสภาพภูมิอากาศ
เพราะความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ทำให้การเจรจาครั้งนี้เป็นเรื่องยาก อย่างไรก็ตามสิ่งที่เป็นอุปสรรคสำคัญจริง ๆ คือเจตจำนงทางการเมืองในบากู การเจรจาที่มีความคืบหน้าเพียงเล็กน้อยยังไม่พอต่อการบรรเทาทุกข์ของชุมชนและผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
จดหมายเปิดผนึกต่อยุทธศาสตร์ฟ้าใส (Clear Sky Strategy) ในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาลไทย เรียกร้องให้ใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับที่โปร่งใสและเปิดเผยต่อสาธารณะในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
รัฐบาลต้องหยุดอ้างความมั่นคงทางพลังงาน เพื่อความมั่งคั่งของคนแค่บางกลุ่ม
“ป้าจะพูดความจริงเพื่อสู้กับกลุ่มคนที่เห็นแก่ตัว และทำลายสิ่งแวดล้อม และอ้างความมั่นคงทางพลังงานเพื่อเอาเปรียบประชาชนด้วยกัน”
-
สุดช็อก! กรีนพีซเผยชุดภาพธารน้ำแข็งในอาร์กติกละลายในช่วงศตวรรษนี้
กรีนพีซเผยชุดภาพธารน้ำแข็งละลายที่แสดงให้เห็นว่าในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาธารน้ำแข็งในอาร์กติกละลายลงไปจำนวนมาก
-
COP29 : 3 สิ่งที่เราต้องรู้เกี่ยวกับการประชุมด้านสภาพภูมิอากาศระดับโลก
การประชุมแต่ละครั้งก็โฟกัสไปแต่ละประเด็นแตกต่างกันออกไป โดยประเทศเจ้าภาพจะเป็นผู้กำหนดประเด็นในการเจรจา ซึ่งการประชุม COP29 นี้ จะเป็นการประชุมในประเด็น ‘การเงิน’ เป็นหลัก ซึ่งข้อเจรจาตกลงจะต้องไปให้ถึงเป้าหมายการเงินด้านสภาพภูมิอากาศ หรือในชื่อแผน the New Collective Quantified Goal (NCQG)