All articles
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซ กรณีวาฬหัวทุยเสียชีวิตกลางทะเลแถบเกาะลันตา จ.กระบี่
ถึงแม้ว่าขยะพลาสติกจะไม่ใช่สาเหตุการเสียชีวิตของวาฬหัวทุยในครั้งนี้ แต่ตราบเท่าที่สังคมมนุษย์ยังปล่อยให้มีขยะพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งเพิ่มปริมาณมากขึ้นในสิ่งแวดล้อมทางทะเล มลพิษพลาสติกจะยังคงเป็นหนึ่งในภัยคุกคามของความอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตและสัตว์ทะเลหายากอยู่ต่อไป
-
กรีนพีซเรียกร้องรัฐบาลกำหนดนโยบายปกป้องเกษตรกรจากการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู และผลกระทบอื่นจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
กรุงเทพฯ, 27 มิถุนายน 2562 -- กรีนพีซชี้รัฐบาลไทยต้องยกระดับมาตรการป้องกันอุตสาหกรรมหมูจากการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในหมูที่กำลังคุกคามอุตสาหกรรมหมูของเอเชีย เพื่อไม่ให้ไทยกลายเป็นประเทศต่อไปที่เผชิญกับหมูติดเชื้อจากภัยระบาด
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซ กรณีปฏิญญากรุงเทพว่าด้วยการต่อต้านขยะทะเลในภูมิภาคอาเซียน และกรอบการปฏิบัติงานอาเซียนว่าด้วยขยะทะเล
พลาสติกเป็นปัญหามลพิษ ไม่ใช่ปัญหาขยะ และต้องเน้นการแก้ปัญหาตลอดวงจรชีวิตของพลาสติก ตั้งแต่การผลิตไปจนถึงเมื่อพลาสติกหมดอายุการใช้งาน
-
ลด น.เนื้อ เพื่อ ล.โลก กรีนพีซรณรงค์งดเนื้อสัตว์เพื่อลดความเสี่ยงเชื้อดื้อยา
เนื่องในสัปดาห์งดเนื้อสัตว์โลก กรีนพีซในหลายประเทศได้จัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันนโยบายลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่เกิดจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
-
ชุมชนผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษพลาสติกและขยะอิเล็กทรอนิกส์ เรียกร้องผู้นำอาเซียนปกป้องภูมิภาคจากการเป็นถังขยะโลก
ตัวแทนชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษขยะพลาสติกและขยะอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับนักกิจกรรมและอาสาสมัครจากมูลนิธิบูรณะนิเวศและกรีนพีซรวมตัวกันพร้อมป้ายข้อความ “อาเซียนไม่ใช่ถังขยะโลก”
-
เครือข่ายปกป้องสิทธิสิ่งแวดล้อมของชุมชนเรียกร้องผู้นำอาเซียน ยุติการค้าขยะพลาสติกและขยะอิเล็กทรอนิกส์
กลุ่มปกป้องสิทธิสิ่งแวดล้อมของชุมชนจากมาเลเซีย ฟิลิปปินส์และไทยรวมพลังเรียกร้องให้บรรดาผู้นำอาเซียนกำหนดนโยบายระดับภูมิภาคที่ชัดเจนและก้าวหน้าในการห้ามการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของขยะพลาสติกและขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ทะลักเข้าสู่ภูมิภาค และควบคุมการผลิตและการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวที่เป็นรูปธรรม
-
ความเห็นของกรีนพีซต่อการถอนตัวจากคณะกรรมการล่าวาฬ (IWC) ของประเทศญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศเตรียมยุติการเป็นสมาชิกคณะกรรมการล่าวาฬระหว่างประเทศ (IWC) ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2562 นี้
-
คลื่นมนุษย์สีฟ้า พร้อมใจเกิดขึ้นทั่วโลกเนื่องในวันมหาสมุทรโลก
ผู้คนจาก 23 ประเทศพร้อมใจกันทาสีตัวเป็นสีฟ้า เพื่อสร้างปรากฎการณ์คลื่นมนุษย์ เรียกร้องให้ช่วยกันปกป้องผืนมหาสมุทรของเรา
-
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ : ความเร่งด่วนในการปกป้องผืนป่า มหาสมุทร และการเปลี่ยนแปลงการบริโภคอาหาร
รายงานความหลากหลายทางชีวภาพขององค์การสหประชาชาติย้ำเตือนถึงการสูญเสียสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตครั้งใหญ่อันเนื่องมาจากผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ ต้องจุดประกายให้เกิดการลงมือทำอย่างเร่งด่วนในการปกป้องผืนป่า มหาสมุทรโลกและนำไปสู่การเปลี่ยนผ่านระบบเกษตรกรรมและการผลิตและบริโภคอาหาร
-
ผลวิจัยล่าสุดเผยให้เห็นถึงวิกฤตการค้าพลาสติกรีไซเคิลในระดับโลก
ขยะพลาสติกที่ทำให้เกิดการปนเปื้อนในแหล่งน้ำ การตายของพืช การเจ็บป่วยของผู้คนและมลพิษจากการเผาขยะในที่โล่ง ได้ไหลบ่าเข้ามาสู่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในนามของการรีไซเคิล