All articles
-
“Climate Finance & Thailand Taxonomy; Opportunity and challenge” กลไกทางการเงินและการจัดกลุ่มกิจกรรมสีเขียวของไทย บนโอกาสและความท้าทาย
27 ปีต่อจากนี้ จะเป็นเวลาที่สำคัญมากสำหรับประเทศไทยและสำหรับโลกของเราที่จะขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านครั้งสำคัญต่อไปในอนาคต โลกและประชากรจะเป็นไปในทิศทางไหน? ในขณะที่เรามีทั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 รวมถึงเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2065 ซึ่งประเทศไทยได้ให้สัญญาไว้ในการประชุม COP26
-
เปิดโปงการฟอกเขียวในอุตสาหกรรม Fast Fashion : รวมกลยุทธ์ที่แบรนด์ใช้ปิดบังต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ปี 2543 ถึงปี 2557 การผลิตเสื้อผ้าเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัว จนถึงจำนวนการผลิตราว 100 พันล้านตัว ซึ่งเกินจุดที่ไม่ยั่งยืนของการผลิตในแต่ละปี
-
บิตคอยน์คือระเบิดเวลาของสภาพภูมิอากาศ
บิตคอยน์ใช้พลังงานไฟฟ้ามากพอ ๆ กับประเทศทั้งประเทศ โดยในปี 2565 ไฟฟ้าที่ใช้ขุดบิตคอยน์ทั่วโลกจำนวนร้อยละ 62 มาจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
-
ปรัตถกร จองอู : บทสนทนาว่าด้วยความไม่เป็นธรรมทางสัญชาติของคนชาติพันธุ์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ข้อเท็จจริงของปัญหาเรื่องฝุ่นพิษและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นั้นไม่ใช่แค่วิถีการทำเกษตรจากประชาชนกลุ่มเล็ก ๆ บนพื้นที่ภูเขา แต่เงื่อนไขที่ผลักดันให้คนบนดอยต้องพึ่งพารายได้จากการปลูกข้าวโพดนั้นเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างทางสังคมที่เรื้อรังมายาวนานและตอกย้ำความไม่เป็นธรรมทางสิทธิมนุษยชน
-
เรื่องราวของ กรีนฮาร์ท ภูเก็ต กลุ่มคนที่อยากเห็นภูเก็ตเป็นเมืองที่สะอาดและปลอดปัญหาขยะพลาสติก
เบ้นท์ ซันโฟลว (Benz Sunflo) คือหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มกรีนฮาร์ท ภูเก็ต ที่อยากให้ระบบนิเวศทางทะเลของภูเก็ตยังคงสวยงาม เบ้นท์ได้แรงบันดาลใจจากมาจากกรีนพีซ เพราะรู้จักกรีนพีซมาตั้งแต่เด็กผ่านรายการ America Funniest video
-
เรากำลังเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว
สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์เตือนเรามาในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาก็คือ พวกเรากำลังเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว
-
ทำความรู้จัก Eco-anxiety ความวิตกกังวลจากปัญหาสิ่งแวดล้อม และวิธีมองโลกอย่างมีหวังในวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
อารมณ์โกรธหรือวิตกกังวลเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคือเรื่องปกติ แต่เมื่ออารมณ์เหล่านี้ครอบงำเราจะส่งผลต่อสุขภาพเราได้ นี่คือวิธีรับมือกับความรู้สึกเหล่านี้
-
เพราะอยากให้โลกปลอดจากผลกระทบของขยะพลาสติก คุยกับพิชามญชุ์ รักรอด นักรณรงค์ กรีนพีซ ประเทศไทย กับเหตุผลที่เราต้องลดใช้พลาสติก
“เราเห็นรูปปลาอยู่ในกระป๋องอะลูมิเนียมแล้วยังรู้สึกว่าอึดอัดเลย คิดว่าถ้าเป็นตัวเองต้องอยู่ในที่แคบแบบนั้นเราคงอยู่ไม่ได้และกระป๋องนั้นก็ไม่ใช่บ้านที่แท้จริง แต่เป็นขยะจากใครไม่รู้ที่สุดท้ายมาลงเอยตรงที่เราอาศัยอยู่”
-
ครึ่งปีผ่านไป คุณกับเราได้ขับเคลื่อนงานรณรงค์เรื่องทะเลและมหาสมุทรอะไรบ้าง?
เวลาครึ่งปีที่ผ่านไปมีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นกับมหาสมุทรทั้งในไทยและทั่วโลก เราเลยอยากมาชวนมองย้อนว่าครึ่งปีที่ผ่านมา เราได้ทำอะไรบ้างในประเด็นทะเลและชุมชนชายฝั่ง
-
ประสบการณ์จากคนธรรมดาที่อยากลดพลาสติก แค่เริ่มที่ตัวเราจะเอาชนะวิกฤตมลพิษพลาสติกได้หรือไม่?
ปีที่ผ่านมา เรามีโอกาสได้คุยกับหลาย ๆ คนที่สนใจปัญหาขยะพลาสติกมากยิ่งขึ้นซึ่งทำให้รู้ว่าจริง ๆ แล้ว จุดเริ่มต้นของการหันมาสนใจปัญหาขยะพลาสติกอาจไม่จำเป็นต้องยิ่งใหญ่ แต่อาจเริ่มจากจุดเล็ก ๆ