All articles
-
เรื่องของคนรักปะการัง : กานต์ ศุกระกาญจน์ กับความหลงใหลในปะการังและประสบการณ์ครั้งแรกบนเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์
“ผมว่ามันมหัศจรรย์ดี อย่างแรกที่ผมชอบคือมันสวย อย่างที่สองคือปะการังเป็นเหมือนบ้านของสัตว์ทะเลหลายชนิดและผมคิดว่าสัตว์เหล่านั้นก็น่าทึ่งมากเหมือนกัน นอกจากนี้ปะการังยังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเล”
-
การสร้างและการทำลายจากโครงสร้างของมนุษย์ ในภาพยนตร์ Solids by the Seashore (ทะเลของฉัน มีคลื่นเล็กน้อยถึงปานกลาง)
สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างเพื่อควบคุมธรรมชาติ ซึ่งผ่านการตัดสินใจโดยไม่ได้รับฟังความเห็นรอบด้านของรัฐ มักเป็นปัญหาที่ปรากฎให้เห็นอยู่ทั่วไปในประเทศไทย ทั้งส่งผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมที่หายไป สิทธิทำกินและอยู่อาศัย รวมถึงความสวยงาม
-
10 เหตุผลที่เราต้องไม่หลงกลการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS)
ท่ามกลางวิกฤตโลกเดือดที่ท้าทายมนุษยชาติ เราจะได้ยินเรื่อง ความเป็นกลางทางคาร์บอน(carbon neutrality) และการลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์สุทธิ (net zero) ที่อ้างว่าเป็นทางออกมากขึ้นเรื่อย ๆ อีกประเด็นที่มาแรงแซงทางโค้งนอกจาก “ป่าคาร์บอน” แล้ว ก็คือการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage-CCS)
-
กลลวงใหญ่-การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
พวกเรารู้ว่าบริษัทน้ำมันอยู่เบื้องหลังวิกฤตโลกเดือดมาหลายทศวรรษ แต่กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมกลับวางแผนใช้วิกฤตนี้มาเป็นโอกาสทำกำไรให้กับตัวเอง ด้วยการใช้เงินจากงบประมาณสาธารณะ และอ้างว่าจะช่วยแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่ในทางกลับกัน งบประมาณสาธารณะดังกล่าวถูกนำไปใช้เพื่อเป็นเงินทุนอุดหนุนในการเพิ่มการผลิตน้ำมัน หากใครคิดตามแผนการนี้ไม่ทัน อาจจะบอกได้ว่าแผนของพวกเขานั้นอัจฉริยะจริง ๆ
-
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล: บ้านเราให้เราดูแลและออกแบบอนาคตยั่งยืน
“เอกสารสรุปเชิงนโยบายการจัดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลโดยชุมชนเป็นผู้นำเพื่อการออกแบบอนาคตยั่งยืน” ถึงมือนายมาหะมะพีสกรี วาแม รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา แล้ว! ในงานรณรงค์ปกป้องทะเลและมหาสมุทรภายใต้โครงการ “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice” ที่หาดสวนกง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
-
เครือข่ายชุมชนชายฝั่ง และกรีนพีซ ประเทศไทย ส่งมอบ ‘เอกสารสรุปเชิงนโยบายการจัดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลโดยชุมชนเป็นผู้นำเพื่อการออกแบบอนาคตยั่งยืน’ ต่อตัวแทนรัฐบาล ผลักดันการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบายในพื้นที่บ้านเกิด
เครือข่ายชุมชนชายฝั่งจาก เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น, สมาคมรักษ์ทะเลจะนะ, จะณะแบ่งสุข, เครือข่ายนาทวียั่งยืน และ กรีนพีซ ประเทศไทย จัดกิจกรรมมอบ “เอกสารสรุปเชิงนโยบายการจัดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลโดยชุมชนเป็นผู้นำเพื่อการออกแบบอนาคตยั่งยืน” ต่อนายมาหะมะพีสกรี วาแม รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ในงานรณรงค์ปกป้องทะเลและมหาสมุทรภายใต้โครงการ “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice” ที่หาดสวนกง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
-
บ้านเรา ให้เรามีส่วนร่วม : เสียงของชุมชนชายฝั่งที่อยากให้รัฐรับฟัง
8 มิถุนายน 2567 ซึ่งเป็นวันมหาสมุทรโลก (World Oceans Day) เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์และกรีนพีซ ประเทศไทยจึงใช้โอกาสนี้เชิญชวนกลุ่มชุมชนชายฝั่ง ผู้ปกป้องทรัพยากรทางทะเลและสิทธิของชุมชน มาร่วมพูดคุยและนำเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นแนวทางด้านการจัดการทรัพยากรทะเลชายฝั่ง ด้านความมั่นคงทางอาหาร และสิทธิชุมชนชายฝั่ง เพื่อกำหนดทิศทางในการพัฒนาพื้นที่ที่ตนอาศัยอยู่ร่วมกัน ในวงสนทนาบนเรือ “การมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำหนดนโยบายและบริหารจัดการทรัพยากรทะเล”
-
ภาคประชาชนเดินหน้ายื่นร่างกฎหมายโลกเดือด “กฎหมายที่ต้องมีจิตวิญญาณของสิทธิมนุษยชน” (ตอนที่ 2)
ใจความสำคัญของกฎหมายฉบับนี้คือการรวบรวมจิตวิญญาณของความห่วงใยการอยู่รอดของทุกชีวิตบนโลกใบนี้ที่ไม่ใช่แค่มนุษย์แต่รวมถึงธรรมชาติ สรรพชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมันหมายถึงจิตวิญญาณของโลกทั้งมวล และจิตวิญญาณที่รัฐและภาคธุรกิจต้องมีต่อสังคม ที่จะปกป้องสิทธิของประชาชนทำให้เกิดการเคารพและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน สิทธิในชุมชน และสิ่งแวดล้อมให้เป็นคุณค่าหลักในการแก้ไขปัญหาโลกเดือดอย่างจริงจัง
-
ภาคประชาชนเดินหน้ายื่นร่างกฎหมายโลกเดือด “กฎหมายที่ต้องมีจิตวิญญาณของสิทธิมนุษยชน” (ตอนที่ 1)
วันที่ 13 มิถุนายน 2567 เครือข่ายประชาชนเพื่อความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศกว่า 23 องค์กรร่วมแถลงข่าวเตรียมยื่นเสนอร่างกฎหมายโลกเดือด!!! เพื่อยับยั้งทุนนิยมสีเขียว ภายใต้พระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นธรรมและยั่งยืน (ฉบับประชาชน)
-
“ให้เราพูดแทนสัตว์ทะเล”: เสียงจากเยาวชนผู้อยู่เบื้องหลัง Mystery of Ocean
จับเข่าคุยกับกลุ่มคนรุ่นใหม่เจ้าของนิทรรศการฉายภาพโปรเจคเตอร์ Mystery of Ocean ส่วนหนึ่งของงาน Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice พาทุกคนดำดิ่งไปใต้ท้องทะเลไทยที่มีทั้งความสวยงามและปัญหาที่คุกคามทั้งความอุดมสมบูรณ์ทางทะเล ชุมชนชาวประมงชายฝั่ง รวมถึงความมั่นคงทางอาหาร