All articles
-
COP29 คือโอกาสที่เหล่าผู้นำโลกจะตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายจากสภาพภูมิอากาศได้สำเร็จ
การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) ที่จัดขึ้นใน บากู อาเซอร์ไบจาน จะต้องรับมือและแก้ปัญหาภาวะโลกเดือดอย่างจริงจัง โดยผู้นำโลกจะต้องมีข้อตกลงเกี่ยวกับเป้าหมายกองทุนสนับสนุนด้านการเงินเพื่อชดเชยและช่วยเหลือในด้านการรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศสำหรับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา
-
ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากต้องลงมือทำ เนื่องจากปี 2567 กำลังทำสถิติความร้อนสูงสุดประจำปีใหม่
เราอยู่ในจุดที่ต้องตัดสินใจ และผู้ก่อโลกเดือดจะไม่สามารถหลบหนีความรับผิดชอบได้! ข่าวที่ว่าในช่วงปี 2558-2567 จะเป็นทศวรรษที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ต้องกระตุ้นให้เกิดการลงมือทำ เพราะความเสียหายที่เกิดจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศซึ่งขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิลได้สร้างความหายนะให้กับชุมชนทั่วโลก
-
เจ้าภาพ COP29 ควรมุ่งเน้นไปที่การยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ไม่ใช่ข้อตกลงลับในการขยายอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล
จากรายงานที่แสดงให้เห็นว่า ประธานการประชุม COP29 นายเอลนูร์ ซอลตานอฟ ถูกถ่ายวิดีโอขณะพูดคุยถึง “โอกาสการลงทุน” ในบริษัทน้ำมันและก๊าซแห่งรัฐของอาเซอร์ไบจาน (Socar) แจสเปอร์ อินเวนเตอร์ หัวหน้าคณะผู้แทนกรีนพีซสากล กล่าวว่า:
-
ถึงเวลาที่เจ้าภาพ COP28 ต้องสานต่อฉันทามติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) และยุติการขยายเชื้อเพลิงฟอสซิล
ก่อนเริ่มการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) เจ้าภาพ COP28 เมื่อปี 2566 ที่ผ่านมา ได้เผยแพร่แผนการดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศ(เป้าหมายปี 2578)
-
ยุติภาวะโลกเดือดที่ต้นเหตุ: นโยบายรัฐไทยต้องเลิกเอื้อฟอกเขียวนายทุน ยกประชาชนเป็นที่ตั้งรับมือวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
การเอื้อประโยชน์ให้กับบรรษัทยักษ์ใหญ่ทำให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางต้องเผชิญกับสารพัดวิกฤต (poly crisis) ทั้งผลกระทบจากหายนะจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งพวกเขาไม่ได้มีส่วนก่อขึ้น ผลกระทบเหล่านี้ซ้ำเติมให้ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความยากจนที่มีอยู่เดิมทวีความรุนแรงขึ้นไปอีก
-
Open Letter to Simon Emmanuel Kervin Stiell, UNFCCC Executive Secretary
The climate crisis and global boiling are exploitative legacies of over a century of colonialism and the Industrial Revolution, where wealthy nations and corporate elites relentlessly extracted fossil fuels—coal, oil, and gas—to capture economic and political power, fueling deep social inequality and ecological devastation.
-
กรีนพีซร่วมกับเครือข่ายชุมชนเรียกร้องรัฐบาลแพทองธารหยุดฟอกเขียวให้กับยักษ์ใหญ่คาร์บอน
เครือข่ายประชาชนเสริมสร้างความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและหยุดคาร์บอนเครดิตยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการบริหารกรอบอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC Executive Secretary) ระบุ การเงินด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Finance) ต้องยึดหลักความรับผิดชอบทางประวัติศาสตร์ในการก่อโลกเดือดของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมร่ำรวย
-
วัวเรอไม่ใช่เรื่องตลก : ก๊าซมีเทนจาก เรอ ตด และมูลในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์กำลังทำให้สภาพภูมิอากาศวิกฤต
ถ้าถามว่าเรารู้จักก๊าซมีเทนไหม? หลายคนน่าจะรู้จักก๊าซชนิดนี้ว่าเป็นก๊าซจากตดและเรอของวัว นอกจากนี้ ก๊าซมีเทนยังถูกปลดปล่อยจากการเลี้ยงสัตว์ มูลวัว และการย่อยอาหาร ซึ่งการปลดปล่อยก๊าซมีเทนนี้เคยเป็นประเด็นรณรงค์จากหนึ่งในศิลปินชื่อดังอย่าง the Beatles โดยเป็นผู้สนับสนุนสำคัญในด้านการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระจายประเด็นนี้สู่สาธารณะให้ตระหนักรู้
-
มองน้ำท่วมในมุม Climate Injustice เมื่อกลุ่มคนที่ปล่อยคาร์บอนน้อยสุดต้องรับแบกรับผลจากภัยพิบัติจากโลกเดือดมากที่สุด
ข้อถกเถียงสำคัญที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือสภาวะน้ำท่วมฉับพลัน ดินถล่มและโคลนที่ตามมาจากมวลน้ำที่ไหลมาจากพื้นที่ภูเขา ในสายตาของสังคมพุ่งไปยังชุมชนคนกับป่าที่อาศัยอยู่บนดอยว่าเป็นต้นเหตุของการทำลายป่า อย่างไรก็ตาม สภาพภูมิอากาศสุดขั้วที่ทำให้หลายพื้นที่ประเทศไทยกำลังเผชิญกับพายุรุนแรงและน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์นั้นไม่ได้มีที่มาเพียงแค่การหายไปของพื้นที่ป่าไม้ แต่ยังเป็นผลของการก่อก๊าซเรือนกระจกมหาศาลและอย่างยาวนานของอุตสาหกรรมหลายภาคส่วน