All articles
-
คนไทยอยู่ตรงไหนในแผน PDP : แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศที่มั่นคง ยั่งยืนและเป็นธรรมกับประชาชน ควรเป็นอย่างไร
เมื่อพูดถึงแผนพลังงานแห่งชาติ สำหรับคนธรรมดาทั่วไปแบบพวกเราแล้วดูเหมือนจะเป็นเรื่องไกลตัวมาก แต่รู้หรือไม่ว่าเจ้าแผนพลังงานแห่งชาตินี่แหละที่จะเป็นตัวกำหนดว่าเราต้องจ่ายค่าไฟแพงหรือถูก
-
เครือข่ายเพื่อพลังงานที่ยุติธรรมสำหรับทุกคน ถกถามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP2024) เพื่อประชาชนและโลกที่ดีกว่าเดิม
เครือข่ายเพื่อพลังงานที่ยุติธรรมสำหรับทุกคน จัดงาน “A Better World is Possible: ถกถามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP2024) เพื่อประชาชนและโลกที่ดีกว่าเดิม” เพื่อให้ประชาชนผู้จ่ายค่าไฟฟ้าได้รับรู้ และเข้าใจต่อร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าปี 2567 และเรียกร้องให้นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
-
จดหมายเปิดผนึกและข้อเสนอถึงรัฐบาล เศรษฐา ทวีสิน “ทบทวนกระบวนการและแผน PDP2024 ที่ไม่มั่นคง แพงและไม่พาประเทศสู่การบรรลุเป้าหมาย Net zero”
จากกระบวนการรับฟังความเห็น ที่ไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ถูกบัญญัติรับรองไว้ทั้งในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย จึงขอเรียกร้องให้รัฐบาลทบทวนร่างแผน PDP ฉบับนี้ และเปิดให้มีกระบวนการกระบวนการรับฟังความเห็นที่รอบด้านอย่างแท้จริง
-
PDP ตัวต้นเรื่องค่าไฟแพง
ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ตั้งคำถามเสมอว่า “เดือนนี้ก็ใช้ไฟน้อยแต่ทำไมค่าไฟถึงแพงขึ้น” ลองหันมาทำความรู้จักกับแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย หรือ Power Development Plan (PDP ) ที่เรามักเรียกกันว่าแผนพีดีพี
-
รายงานEIA โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย ความตั้งใจให้เป็นเพียงพิธีที่ต่ำกว่ามาตรฐาน?
หนึ่งในปัญหาของระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายไทยคือประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานอีไอเอ ผู้จัดทำรายงานอีไอเอมักระบุในรายงานว่า ได้จัดกิจกรรมการเผยแพร่ข้อมูลและจัดรับฟังความคิดเห็นที่ถูกต้องสมบูรณ์ตามคู่มือหรือประกาศของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)แล้ว แต่เสียงจากประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการกลับกล่าวว่าการดำเนินการของผู้จัดทำรายงานไม่ใช่การจัดรับฟังความคิดเห็นอย่างแท้จริง
-
ต่อกรกับ Carbon Majors ตัวการวิกฤตโลกเดือด
เมื่อระบุลงไปอีกว่าก๊าซเรือนกระจกมาจากไหน คำตอบที่ได้แบบสุดๆ คือมาจากภาคพลังงานและผลิตไฟฟ้า ภาคคมนาคมขนส่ง ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ภาคเกษตรกรรม/การใช้ที่ดิน และภาคการจัดการของเสีย ฯลฯ แต่ก็ยังไม่รู้ว่า “ใคร” อยู่ดี กลายเป็นว่าทางออกจากวิกฤตโลกเดือดเป็นความอิหลักอิเหลื่อ(wicked problem)
-
10 เหตุผลที่เราต้องไม่หลงกลการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS)
ท่ามกลางวิกฤตโลกเดือดที่ท้าทายมนุษยชาติ เราจะได้ยินเรื่อง ความเป็นกลางทางคาร์บอน(carbon neutrality) และการลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์สุทธิ (net zero) ที่อ้างว่าเป็นทางออกมากขึ้นเรื่อย ๆ อีกประเด็นที่มาแรงแซงทางโค้งนอกจาก “ป่าคาร์บอน” แล้ว ก็คือการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage-CCS)
-
กลลวงใหญ่-การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
พวกเรารู้ว่าบริษัทน้ำมันอยู่เบื้องหลังวิกฤตโลกเดือดมาหลายทศวรรษ แต่กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมกลับวางแผนใช้วิกฤตนี้มาเป็นโอกาสทำกำไรให้กับตัวเอง ด้วยการใช้เงินจากงบประมาณสาธารณะ และอ้างว่าจะช่วยแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่ในทางกลับกัน งบประมาณสาธารณะดังกล่าวถูกนำไปใช้เพื่อเป็นเงินทุนอุดหนุนในการเพิ่มการผลิตน้ำมัน หากใครคิดตามแผนการนี้ไม่ทัน อาจจะบอกได้ว่าแผนของพวกเขานั้นอัจฉริยะจริง ๆ
-
นักกิจกรรมกรีนพีซกางป้าย ณ แท่นขุดเจาะก๊าซฟอสซิลกลางอ่าวไทย ระบุการกักเก็บคาร์บอนใต้ทะเลไม่ใช่ทางออกวิกฤตโลกเดือด
นักกิจกรรมจากเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ซึ่งเป็นเรือธงของกรีนพีซทำการประท้วงอย่างสันติ ณ แท่นขุดเจาะก๊าซฟอสซิลแหล่งอาทิตย์ คัดค้านโครงการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Offshore Carbon Capture And Storage : CCS) ในเขตเศรษฐกิจจำเพาะของอ่าวไทย เพื่อเปิดโปงการฟอกเขียวของอุตสาหกรรมฟอสซิล
-
ข้อเรียกร้องของ กรีนพีซ ประเทศไทย ต่อโครงการ Carbon Capture and Storage ที่แหล่งอาทิตย์
โครงการ Carbon Capture and Storage(CCS) นอกชายฝั่งกำลังถูกผลักดันในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน ในช่วงกลางปี 2566 บริษัทและรัฐบาลต่างๆ ประกาศแผนการก่อสร้างโครงการ offshore CCS มากกว่า 50 แห่งทั่วโลก หนึ่งในนั้นคือโครงการ CCS ที่แหล่งอาทิตย์ในอ่าวไทย จนถึงปัจจุบัน ประสบการณ์ทั่วโลกในเรื่อง offshore CCS นั้นมาจากโครงการเพียง 2 โครงการในนอร์เวย์ ซึ่งประสบปัญหาที่คาดเดาไม่ได้ แม้จะมีการออกแบบที่ค่อนข้างเรียบง่ายและมีขนาดเล็ก ก็พิสูจน์ความซับซ้อนของ offshore CCS และทำให้เกิดความกังวลอย่างจริงจังถึงโครงการ CCS ที่มีขนาดและขอบเขตที่ใหญ่ขึ้น