All articles
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซกรณีการล็อบบี้ของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ศูนย์กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (Center for International Environmental Law) ซึ่งเปิดเผยว่ามีนักล็อบบี้ที่เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลและอุตสาหกรรมเคมีจำนวน 196 คน ถูกส่งเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลครั้งที่สี่ (INC4) เพื่อจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลก
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน ภัทรานิษฐ์ ศรีจันทร์ดร : Food Not Coal
‘ภัทรานิษฐ์ ศรีจันทร์ดร’ หรือ ‘น้ำตาล’ เปิดร้านอาหาร เบเกอรี กาแฟ และขายของชำ ภายในร้าน ‘The Goodcery’ ชื่อ Goodcery มาจาก Grocery ที่แปลว่าร้านขายของชำ หรือ ‘โชห่วย’ ในภาษาจีน เมื่อนำคำมาละเล่นกับด้านตรงข้ามของ ‘ห่วย’ นั่นคือ ‘ดี’ หรือ Good ชื่อ The Goodcery จึงเป็นชื่อที่แทนความคิดในการทำร้านแห่งนี้ ทั้งหมดนี้ไม่ใช่วิสัยทัศน์ของนักธุรกิจ
-
แนวปะการังเกรท แบริเออร์ เผชิญกับเหตุการณ์การฟอกขาวขนาดใหญ่ครั้งที่ 7 ส่งคำเตือนที่สิ้นหวังในการยุติยุคเชื้อเพลิงฟอสซิล
หน่วยงานอุทยานทางทะเล Great Barrier Reef ยืนยันอย่างเป็นทางการในวันนี้ว่า สิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกนี้ถูกคุกคามจากเหตุการณ์ฟอกขาวครั้งที่ 7 โดยในช่วงเวลา 8 ปี ที่ผ่านมา ได้เกิดการฟอกขาวขนาดใหญ่ไปแล้ว 5 ครั้ง
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน รสริน คอนแนลล์ : clean air is a luxury
หลังจากพบว่าเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่สอง ‘รสริน คอนแนลล์’ ตั้งคำถามกับตัวเองว่า ‘ทำไม’ เพราะการดูแลสุขภาพอยู่บรรทัดแรกสุดในลำดับของสิ่งสำคัญในชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการกินหรือออกกำลังกาย
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน : ธนพล จูมคำมูล Deep into the mountain sound
ระหว่างที่ ‘ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์’ กำลังศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) ที่มหาวิทยาลัยซากะ ประเทศญี่ปุ่น บ้านเกิดของเขากำลังต้องการความช่วยเหลือ เนื่องจากกำลังจะมีโครงการเหมืองถ่านหินเกิดขึ้นในอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน : ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์ Modern Primitives
ระหว่างที่ ‘ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์’ กำลังศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) ที่มหาวิทยาลัยซากะ ประเทศญี่ปุ่น บ้านเกิดของเขากำลังต้องการความช่วยเหลือ เนื่องจากกำลังจะมีโครงการเหมืองถ่านหินเกิดขึ้นในอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
-
การนำเข้าก๊าซฟอสซิล ที่ประชาชนจำต้องแบกภาระค่าไฟฟ้าตลอดชีพ?
กลุ่มทุนก๊าซฟอสซิลยังเดินหน้านำเข้า LNG มาผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคงทางพลังงานของใคร?
-
COP28 : สัญญาณถึงอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล
เวลาทั้งสองสัปดาห์ของการเจรจาด้านสภาพภูมิอากาศใช้ไปกับการขจัดเอาผลประโยชน์สกปรกของตัวแทนอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีจำนวนผู้เข้าร่วมสูงเป็นประวัติการณ์จากกระบวนการเจรจาจนวินาทีสุดท้าย
-
อุตสาหกรรมเกษตรยักษ์ใหญ่ใช้วิธีของอุตสาหกรรมฟอสซิลเพื่อควบคุมเรื่องเล่าใน COP28 อย่างไร
หากคุณไม่ได้ติดตามพัฒนาการด้านอาหารและการเกษตรที่ COP28 คุณอาจไม่รู้ว่า COP ปี 2566 นี้ได้รับการขนานนามว่าเป็น “COP ว่าด้วยอาหาร(Food COP)” ครั้งแรก
-
‘ผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย’ ทำไมอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นตัวการก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศจะต้องชดเชยค่าความสูญเสียและเสียหาย
ในบทความนี้เราจะมาสำรวจว่า ทำไมกลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านเชื้อเพลิงฟอสซิล (ถ่านหิน,น้ำมัน,ก๊าซฟอสซิล) ที่เป็นตัวการหลักในการก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศจะต้องรับผิดชอบต่อการทำลายสิ่งแวดล้อมที่พวกเขาได้ก่อเอาไว้