All articles
-
รายงาน IQAir เผย ปี 2565 ทั้งปีมีอากาศดีแค่ 3 เดือน และมีนา-เมษา PM2.5 สาหัสที่สุด ปี 2566 จะซ้ำรอยหรือหนักกว่าเดิม?
ขณะหลายคนกำลังป่วยด้วยฝุ่น PM2.5 ที่หนักหน่วงในเดือนมีนาคมและอาจอยากรู้ว่าเราต้องแบกรับภาระทางสุขภาพนี้ไปอีกนานแค่ไหน? หรือจะเกิดอะไรขึ้นในเดือนนี้และเดือนต่อ ๆ ไป กรีนพีซ ประเทศไทยขอชวนอ่านรายงานคุณภาพอากาศโลก หรือรายงาน IQAir [1] ประจำปี 2565 ที่เพิ่งเปิดตัว เพื่อเตรียมตัวเตรียมใจรับมือสถานการณ์ปีนี้หากยังคงซ้ำรอยปีที่แล้ว สำรวจปัจจัยที่ทำให้อากาศดีและแย่ และกำหนดอนาคตทางสุขภาพของพวกเราร่วมกัน
-
รายงานคุณภาพอากาศโลกของ IQAir ระบุคุณภาพอากาศไทยแย่ติดอันดับ 5 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2565 ของ IQAir ระบุว่าคุณภาพอากาศของไทยแย่ติดอันดับ 5 จากทั้งหมด 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอยู่อันดับที่ 57 จาก 131 ประเทศ และทุกภูมิภาคทั่วโลก
-
World Air Quality Report 2022
รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2565 นี้เป็นรายงานฉบับที่ 5 ซึ่ง IQAir จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลคุณภาพอากาศ PM2.5 จาก 7,323 เมือง ใน 131 ประเทศ และภูมิภาค โดยรวบรวมข้อมูลมาจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศภาคพื้นดินกว่า 30,000 แห่งทั่วโลก และใช้เกณฑ์แนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นค่าพื้นฐานในการนำเสนอข้อมูลคุณภาพอากาศ
-
สรุปแล้วหน่วยงานรัฐจัดการฝุ่น PM2.5 ไปถึงไหนแล้ว ทำไมเรายังต้องสูดฝุ่นกันอยู่อีก
กว่าจะผ่านช่วงโควิดกันมาได้ ใบหูของหลายคนคงมีร่องรอยที่ทิ้งไว้จากการต้องสวมใส่หน้ากากอนามัยอยู่ทุกวัน ปี 2566 นี้ในขณะที่สถานการณ์โควิดดีขึ้นจนคนส่วนใหญ่สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติและถอดหน้ากากให้หายใจได้อย่างเต็มปอด พวกเราคนไทยกลับยังต้องสวมหน้ากากยามออกไปข้างนอก เพราะฝุ่น PM2.5 ที่วนกลับมาตามฤดูกาล โดยจังหวัดกรุงเทพมหานครและอีกหลายจังหวัดในภาคเหนือต่างแข่งกันขึ้นอันดับเมืองที่มีคุณภาพอากาศยอดแย่ระดับโลก
-
12 ปีหลังหายนะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ การหันกลับไปใช้พลังงานนิวเคลียร์อาจก่อภาระในอนาคต
ครบรอบ 12 ปีของเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์หายนะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะตามมาซึ่งสร้างความเสียหายมหาศาลให้กับญี่ปุ่น กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอใช้เวลานี้เพื่อระลึกถึงผู้คนที่ต้องสูญเสียคนที่รักจากเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างสุดซึ้ง และขอส่งความห่วงใยของเราไปยังทุก ๆ คนที่ได้รับผลกระทบ ตลอดเวลา 12 ปีที่ผ่านมา หลายภาคส่วนได้พยายามฟื้นฟูพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบตามระบบ แต่ขณะเดียวกัน รัฐบาลญี่ปุ่นกลับมีท่าทีชัดเจนว่าจะนำโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กลับมาอีกครั้ง
-
เมื่อแนวคิด 75 ปีก่อน ยังปิดทางการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ของคนไทยในปัจจุบัน
4 ปีมาแล้ว ที่คนไทยยังต้องเจอฝุ่นพิษ PM2.5 เราเคยสงสัยไหมว่าทำไมกฎหมายอากาศสะอาดที่จะมาแก้ปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 ของไทย ถึงไม่เกิดเสียที ทั้งที่ประชาชนต้องการ และพรรคการเมืองต่างๆ สนับสนุน จนเกิดร่างกฎหมายสะอาดและกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษกว่า 5 ฉบับเข้าไปแล้ว สาเหตุอาจน่าเจ็บใจกว่าที่คิด นั่นคือเรายังคงใช้แนวคิดของ “กฎหมายเกี่ยวด้วยการเงิน” เมื่อ 75 ปีก่อน มาปัดตกกฎหมายที่จะมาปกป้องชีวิตผู้คนในยุคปัจจุบันทิ้งไปอย่างน่าเสียดาย
-
รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยนเรศวร และ กรีนพีซ ประเทศไทย ขอชวนอ่าน “รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย” (Mercury Emission from Coal Plants in Thailand) ที่จะทำให้เรารู้จักปรอทในบริบทของประเทศไทยมากขึ้น สำรวจแนวโน้มของการปนเปื้อนปรอทในอาหาร และเห็นว่าการรั่วไหลของปรอทต่อระบบนิเวศเป็นภัยคุกคามต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร
-
กะเบอะดิน กลุ่มชาติพันธุ์และอนาคตผู้ลี้ภัยทางสิ่งแวดล้อม?
การสะสมมลพิษจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อยจะส่งผลโดยตรงต่อชุมชนกะเบอะดินทั้งด้านเศรษฐกิจ สุขภาพและวิถีของชนพื้นเมือง
-
แก้ปัญหาโรงพยาบาลไฟดับด้วยโซลาร์เซลล์ท่ามกลางสงครามในยูเครน
ท่ามกลางสงคราม เกิดระเบิดขึ้นที่เมืองฮอเรนกาของยูเครนทำให้โรงพยาบาลได้รับความเสียหาย ไฟฟ้าถูกตัด แต่การดำเนินการของโรงพยาบาลจำต้องดำเนินต่อไป แม้อยุ่ในท่ามกลางวิกฤต โซลาร์เซลล์คือคำตอบที่ช่วยกู้สถานการณ์ได้
-
‘ผมสูญเสียคนที่ผมรักจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ผมอยากให้ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบ’ เปิดเหตุผลที่ เยบ ซาโน ร่วมคัดค้านเชลล์
เพราะฟิลิปปินส์เคยถูกทำลายด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ผมจึงมาที่นี่เพื่อส่งสาส์นให้กับผู้คนว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นจริง และกำลังทำร้ายพวกเรา ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหนบนโลกแต่วิกฤตสภาพภูมิอากาศจะส่งผลกระทบต่อคุณแน่นอน