-
ฉลากบนผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ สำคัญอย่างไร
คุณจะเปลี่ยนวิธีการเลือกซื้อเนื้อสัตว์หรือไม่ หากทราบรายละเอียดที่มาของเนื้อสัตว์ชิ้นนั้นอย่างแท้จริง
-
บทสัมภาษณ์: ยาปฏิชีวนะ เชื้อดื้อยา และอาหาร ผ่านมุมมองของ รศ.ดร.นพ. ดิเรก ลิ้มมธุรสกุล
“ในปีหนึ่งคุณกินยาปฏิชีวนะกี่ครั้ง?” คำถามที่เราควรหมั่นถามตัวเองและคนที่เรารัก เพราะปริมาณยาปฏิชีวนะที่เราได้รับนั้นส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของเรา และต่อสุขภาพร่วมกันของคนทั่วโลก เนื่องจากเชื่อมโยงปัญหาเชื้อดื้อยา วิกฤตที่เกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น
-
เปิดรายงานใหม่ของกรีนพีซ “เหมืองแร่ใต้ทะเล” ภัยคุกคามใหม่ของมหาสมุทร
จากรายงานล่าสุด “ลึกลงไปใต้มหาสมุทร” (In Deep Water) ของกรีนพีซ ระบุชัดเจน ถึงภัยคุกคามที่เกิดขึ้นใหม่กับมหาสมุทรจากการทำอุตสาหกรรมเหมืองแร่ในทะเลลึก ซึ่งอาจส่งผลให้สัตว์น้ำพิเศษเฉพาะถิ่นต้องสูญพันธุ์ไป
-
อีกด้านหนึ่งของนักล่าแห่งท้องทะเล
ฉลามกับบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการรักษาสมดุลของทะเล
-
เดือน 7 กับ 7 ข้อ ช่วยลดขยะพลาสติก
ในครึ่งปีหลังนี้ เราจึงอยากเชิญชวนทุกคนมาร่วมแสดงความรักของเราที่มีต่อโลกใบนี้กับกิจกรรม #PlasticFreeJuly ด้วยการลดขยะพลาสติก เพื่อชีวิตการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และเพื่อให้โลกที่น่าอยู่ของเราคงอยู่ต่อไป
-
การเดินทางสำรวจมหาสมุทรโลก : อาร์กติก
ปีนี้ กรีนพีซและเหล่านักวิทยาศาสตร์ได้เริ่มการเดินทางสำรวจที่ยาวนานที่สุด และไกลที่สุดครั้งหนึ่งเลยก็ว่าได้ เพื่อสำรวจทรัพยากรอันอุดมสมบูรณ์ของมหาสมุทรโลกตั้งแต่ดินแดนขั้วโลกเหนือจรดดินแดนขั้วโลกใต้ รวมถึงหาหลักฐานว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศไปจนถึงมลพิษพลาสติก การทำเหมืองแร่ในทะเล และการประมงเกินขนาดนั้นเป็นส่วนหนึ่งของภัยคุกคามมหาสมุทรของเรา
-
ฉลาม นักล่าผู้ตกเป็นเหยื่อ (Shark Under Attacked)
การล่าฉลาม เป็นปัญหาเรื้อรังที่ไม่ได้รับการกล่าวถึง อีกทั้งยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลเป็นสถิติตัวเลขได้ชัดเจน จากรายงานล่าสุดประเมินว่ามีฉลามกว่า 100 ล้านตัว ถูกจับหรือถูกสังหารจากเครื่องมือประมงในทุกๆปี
-
เหตุผลของการปกป้อง “Lost City” พื้นที่ล้ำค่าแห่งมหาสมุทร
การได้มีโอกาสสำรวจ “ลอส ซิตี้” (Lost City) เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นเต้นที่สุดในชีวิตการทำงานของฉัน
-
เหตุการณ์ “เชอร์โนบิล” ภัยพิบัติที่ยังไร้จุดจบ
เหตุการณ์ครั้งนั้นมีประชากรเกือบ 350,000 คนที่ถูกอพยพออกจากบ้าน และในปัจจุบัน ผู้คนประมาณ 5 ล้านคนยังคงต้องอาศัยอยู่ในบริเวณที่ระบุไว้ว่าปนเปื้อน และจากการคาดการณ์ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่ามีผู้เสียชีวิตจากภัยพิบัติเชอร์โนบิลมากกว่า 9,000 คน
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซ กรณีวาฬหัวทุยเสียชีวิตกลางทะเลแถบเกาะลันตา จ.กระบี่
ถึงแม้ว่าขยะพลาสติกจะไม่ใช่สาเหตุการเสียชีวิตของวาฬหัวทุยในครั้งนี้ แต่ตราบเท่าที่สังคมมนุษย์ยังปล่อยให้มีขยะพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งเพิ่มปริมาณมากขึ้นในสิ่งแวดล้อมทางทะเล มลพิษพลาสติกจะยังคงเป็นหนึ่งในภัยคุกคามของความอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตและสัตว์ทะเลหายากอยู่ต่อไป