-
กลุ่มผลประโยชน์จากประเทศร่ำรวยขัดขวางข้อเรียกร้องว่าด้วยกองทุนความสูญเสียและความเสียหาย
จากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ สากล ระบุว่า กลุ่มประเทศที่ร่ำรวยที่สุดและก่อมลพิษมากที่สุดในประวัติศาสตร์พยายามขัดขวางความคืบหน้าในการเจรจาที่ COP27 เพื่อจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานกองทุนความสูญเสียและความเสียหายที่มีความจำเป็นเร่งด่วนซึ่งเรียกร้องโดยกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา แม้ว่าการจัดหาเงินทุนเพื่อรับมือกับความสูญเสียและความเสียหายจะเป็นวาระสำคัญของ COP27
-
“ไม่มีเศรษฐกิจที่โต บนโลกที่ตาย” กรีนพีซ ประเทศไทยส่งข้อความเรียกร้องความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศต่อผู้นำ APEC พร้อมวิพากษ์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ของรัฐบาลไทย
นักกิจกรรมกรีนพีซ ประเทศไทยทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ ส่งข้อความถึงบรรดาผู้นำประเทศที่กำลังจะเดินทางมาประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย - แปซิฟิก หรือ เอเปค 2565 ในสัปดาห์หน้า นักกิจกรรมได้ชูป้ายผ้าที่มีข้อความ “เอเปก ต้องหยุดฟอกเขียว” และ “ผู้ก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศต้องชดใช้ความสูญเสียและความเสียหาย” ในบริเวณบึงน้ำของสวนเบญจกิติซึ่งใกล้กับอาคารจัดประชุมสุดยอดผู้นำเอเปก
-
รู้จักนักรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมรุ่นใหม่ ร่วมเดินทางกับกรีนพีซ เรียกร้องความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศช่วง COP27
การเคลื่อนไหวและรณรงค์ด้านสภาพภูมิอากาศนั้นเกิดขึ้นทั่วโลกโดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ และในบทความนี้เราจะมาทำความรู้จักกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่รณรงค์ปกป้องสภาพภูมิอากาศจากภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ซึ่งเป็นภูมิภาคที่กำลังจะมีการประชุมสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศโลกอย่าง COP27 เกิดขึ้น
-
ประเด็น “ความสูญเสียและความเสียหาย” เพิ่มอยู่ในวาระการเจรจาที่ COP27 : ความเห็นของกรีนพีซ
ความเห็นต่อวาระการประชุมที่ยืนยันแล้วที่ COP27 เพื่อหารือเกี่ยวกับ “การจัดการเงินทุนเพื่อรับมือกับความสูญเสียและความเสียหายที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ”
-
ภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือกำลังเผชิญภัยพิบัติจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ตอนนี้อุณหภูมิในภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือเพิ่มขึ้นจากอุณหภูมิเฉลี่ยโลกถึงสองเท่า นั่นทำให้ระบบนิเวศ แหล่งที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิตของผู้คนในอัลจีเรีย อียิปต์ เลบานอน โมรอคโค ตูนีเซียและสหรัฐอาหรับ อิมิเรต กำลังเผชิญกับผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างรุนแรง
-
ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนืออุณหภูมิสูงขึ้นเป็นสองเท่าจากค่าเฉลี่ยโลก ส่งผลกระทบต่อชุมชนและระบบธรรมชาติทั่วทั้งภูมิภาค
รายงาน ‘ชีวิตที่เสี่ยงภัย : ผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศใน 6 ประเทศตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ’ ของห้องปฏิบัติการวิจัยกรีนพีซที่มหาวิทยาลัย Exeter สหราชอาณาจักรระบุว่า ระบบนิเวศและผู้คนที่อาศัยอยู่ในอัลจีเรีย อียิปต์ เลบานอน โมรอคโค ตูนีเซีย และสาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตส์กำลังพบกับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างฉับพลัน
-
COP27 จะต้องสร้างอนาคตที่ปลอดภัยและเป็นธรรมสำหรับทุกคน
ความคิดเห็นและความคาดหวังของกรีนพีซต่อการประชุมสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศ
-
แบรนด์ใหญ่ทำไม่ได้ตามที่พูด และยังคงล้มเหลวในการจัดการปัญหามลพิษพลาสติก
มูลนิธิเอเลน แมค อาร์เธอร์ (EMF) ได้เปิดเผยในรายงาน Global Commitment 2022 Progress Report ว่าบริษัทต่าง ๆ จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายหลักในการสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนสำหรับพลาสติก ซึ่งตั้งไว้ในปี 2568 โดยรายงานระบุว่า เป้าหมายในการนำพลาสติกทั้งหมดมาใช้ซ้ำ รีไซเคิล หรือต้องย่อยสลายได้ 100% ภายในปี 2568 แทบจะไม่สำเร็จแน่นอนแล้ว ขณะเดียวกัน ตัวเลขการใช้พลาสติกใหม่ยังเพิ่มสูงขึ้นเทียบเท่าปี 2561
-
ความเหลื่อมล้ำใต้ท้องฟ้าเดียวกัน : เมื่อต่างจังหวัดฝุ่นเยอะพอๆ กับกรุงเทพฯ แต่เข้าถึงเครื่องวัดคุณภาพอากาศได้ยากกว่า
ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษพบว่าปริมาณฝุ่น PM2.5 เฉลี่ยรายปีของปี 2564 เชียงรายมีค่าสูงที่สุดในประเทศ รองลงมาคือขอนแก่นสระบุรี แต่หน่วยงานของภาครัฐนั้นมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 เฉพาะที่กรุงเทพมหานคร (อยู่อันดับที่ 10) และ 9 จังหวัดภาคเหนือ ในขณะที่ในบางพื้นที่ซึ่งก็มีปัญหามลพิษทางอากาศเช่นกันกลับไม่ได้รับความสนใจมากเท่าที่ควร
-
ประชาชนอินโดฯ ชนะอุทธรณ์คดีอากาศสะอาด ย้ำรัฐฯต้องแก้ปัญหามลพิษทางอากาศเพื่อประชาชนทุกคน
ประชาชนอินโดนีเซียชนะคดีอากาศสะอาดอีกครั้ง หลังประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ ยื่นอุทธรณ์