-
ของขวัญอาบยาพิษ : เปิดโปงการทิ้งขยะสิ่งทอสู่กลุ่มประเทศซีกโลกใต้ผ่านธุรกิจเสื้อผ้ามือสอง
หลังจากกรีนพีซเยอรมนีเผยแพร่รายงานที่อธิบายถึงเหตุผลที่ว่าทำไมระบบการควบคุมการผลิตที่อุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่นออกแบบขึ้นมาไม่สามารถทำได้จริง ล่าสุด กรีนพีซ เยอรมนีได้เผยแพร่รายงานฉบับล่าสุดซึ่งแสดงให้เห็นว่าระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนที่อุตสาหกรรมโปรโมทอย่างหนักหน่วงนั้นยังเป็นเพียงแค่วาทกรรม
-
‘ฟอกเขียวต่อไม่รอแล้วนะ’ เมื่อแบรนด์ฟาสต์แฟชั่น Shein ยังไม่แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ
ในเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาแบรนด์แฟชั่นออนไลน์ยักษ์ใหญ่ของโลกอย่าง Shein ประกาศบริจาคเงิน 15 ล้านดอลลาร์ให้กับองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรที่ทำงานกับกลุ่มแรงงานงานขยะสิ่งทอในกานา
-
ทำประมงในทะเลหลวงแล้วไม่ค่อยมีกำไร จะอยู่รอดได้ต้องกดขี่แรงงาน?
เขียนโดย Mallika Talwarแปลและเรียบเรียงโดย อารีญา ยอดดำเนิน
-
GWP* กับความพยายามของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ในการเปลี่ยนแปลงวิธีการประเมินค่าผลกระทบที่อาจทำให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น
โดยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ร่วมกันผลักดัน ตัวชี้วัดการวัดค่าประมาณผลกระทบใหม่ที่รู้จักกันในชื่อ ค่าศักยภาพในการทำให้เกิดภาวะโลกร้อน (GWP*) ซึ่งผู้เชี่ยวชาญต่างกังวลว่าตัวชี้วัดนี้อาจนำไปสู่การคุกคามสภาพภูมิอากาศของโลก เปิดทางให้ผู้ก่อมลพิษรายใหญ่อ้างสิทธิ์ว่าตนเป็นกลางในการปลดปล่อยมลพิษจนไม่ต้องมีการควบคุมการปลดปล่อยก๊าซต่างๆ จากอุตสาหกรรมดังกล่าว
-
ทำไมต้องมีกฎหมายว่าด้วยการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR) ในประเทศไทย
แม้ว่าเราแทบจะไม่รู้เลยว่า มีสารมลพิษชนิดใดบ้างที่ปล่อยออกสู่ดิน น้ำ อากาศ มีสารมลพิษชนิดใดบ้างที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหารที่เรากิน อากาศที่เราหายใจ และผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน และสารมลพิษดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของเราอย่างไร แต่ทำไมต้องมีกฎหมายการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR) ของประเทศ บทความนี้มีคำตอบ
-
วิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการตั้งคำถามกับกฎหมายที่กำลังบังคับใช้ในประเทศไทยมากขึ้นและมากขึ้นอยู่เรื่อย ๆ 
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นเรามักได้ยินวลีคุ้นหูว่า “เริ่มที่ตัวเอง” แต่ตัวเองในที่นี้อาจเริ่มต้นจากรัฐหรือไม่ รัฐควรเป็นแขนขาให้กับคนที่ต้องการแก้ไขทุกปัญหาที่เกิดขึ้น “ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมหรือปัญหาใดมักเกิดมาจากโครงสร้างระบบที่ผิดพลาด
-
นักกิจกรรมกรีนพีซชุมนุมหน้างานประชุมสนธิสัญญาทะเลหลวงของสหประชาชาติ
นักกิจกรรมกรีนพีซสากลพยายามวางป้ายรณรงค์ขนาดใหญ่บริเวณหน้าอัลติสอารีนา ในกรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ซึ่งเป็นสถานที่จัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของโลก
-
วิกฤตความมั่นคงทางอาหาร เกิดขึ้นแล้วจริงหรือ?
โดยทั่วไปเรามักเข้าใจว่าการที่ผลผลิตอาหารเพิ่มขึ้นจะมีโอกาสหล่อเลี้ยงผู้คนในโลกได้มากขึ้น แต่ความจริงแล้วประชากรที่อยู่ในภาวะอดอยากหรือขาดสารอาหารกลับมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้น แล้วรากของปัญหานี้อยู่ที่ไหน เราจะแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่างไร
-
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และภาคีเครือข่ายภาคประชาชนยื่นริเริ่มร่างกฎหมาย PRTR ภาคประชาชนต่อประธานรัฐสภา
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน เดินทางไปที่สัปปายะสภาสถาน เพื่อยื่นริเริ่มเสนอร่างพระราชบัญญัติการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ พ.ศ…. (PRTR) ต่อประธานสภาผู้แทนราษฎรเพื่อดำเนินการรวบรายชื่อ 10,000 รายชื่อในการเสนอร่างกฎหมายภาคประชาชนเข้าสู่กระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภา
-
หลุมพรางของการฟอกเขียว(greenwashing)
ในขณะที่เราทุกคนออกมาปกป้องโลก หลายบริษัทกลับใช้กลยุทธ์ “การฟอกเขียว” เพื่อสร้างภาพลักษณ์ดูเป็นมิตรต่อโลกและเพิ่มยอดขายให้กับตัวเอง