-
บทสํารวจปัญหาค่าจ้างและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อแรงงานข้ามชาติในอุตสาหกรรมอาหารทะเลไทย
รายงานฉบับนี้ชี้ให้เห็นถึงค่าจ้างของแรงงานข้ามชาติซึ่งเป็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน อภิปรายประเด็น “ค่าจ้างชีวิต” (Living Wage) ในบริบทประเทศไทย เสนอความไม่เท่าเทียมของแรงงานเพศหญิงและชาย และผลกระทบของการแพร่ระบาดโควิด-19
-
คุยเรื่องสิ่งแวดล้อมกับนักเคลื่อนไหวรุ่นใหม่และคุณแม่สายซัพ ชนกสรวง-มารีญา พูลเลิศลาภ
บ๊ะจ่างห่อด้วยวัสดุธรรมชาติ เสบียงเดินป่าของกลุ่มเยาวชนและผู้สนใจที่เข้าร่วมทริปสำรวจป่ากับมารีญา พูลเลิศลาภ เมื่อคราวที่ยังทำกิจกรรมนอกสถานที่ได้ก่อนโควิด-19 จะระบาดต่อเนื่องมาถึงตอนนี้ นอกจากจะห่อด้วยเชือกจากเส้นใยธรรมชาติที่ย่อยสลายได้แล้ว ส่วนผสมของบ๊ะจ่างยังปราศจากเนื้อสัตว์อุตสาหกรรม และเลือกที่จะให้คุณค่าทางสารอาหารจากพืชแทน ไอเดียอาหารกลางวันกลางป่าที่คิดคำนึงถึงผลกระทบรอบด้านนี้ไม่ได้มาจากใครอื่นไกล หากคือคุณชนกสรวง พูนเลิศลาภ คุณแม่ของนักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมรุ่นใหม่อย่างมารีญา สายซัพ(พอร์ต)ของหญิงสาวที่ส่งเสียงชัดเจนในหลายกิจกรรมที่เธอออกมาร่วมเรียกร้อง เพื่อหวังเห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น
-
เชื้อดื้อยา การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้ว่าโรงพยาบาลและอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์จะมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในความสำคัญต่อชีวิตของมนุษย์ แต่มีสิ่งหนึ่งที่เชื่อมโยงเหมือนกัน คือ การใช้ยาปฏิชีวนะ สิ่งที่น่ากังวลคือปริมาณในการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มอุตสาหกรรมซึ่งเกิดมาจากการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและเกินความจำเป็น
-
โตเกียวโอลิมปิกบอกอะไรเราบ้างเกี่ยวกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เชื่อว่าหลายๆคนคงได้ดูโตเกียวโอลิมปิก แต่ดูเหมือนว่าเหรียญทองที่ญี่ปุ่นอยากเอาชนะในการจัดการแข่งขันนี้ คือ ‘สภาพอากาศที่ร้อนชื้นที่สุดในประวัติศาสตร์โอลิมปิก’ การวิเคราะห์ล่าสุดจากกรีซพีซเอเชียตะวันออกพบว่ามีอุณหภูมิสูงขึ้นในโตเกียว ปักกิ่ง และโซล รวมถึงอีกกว่าสิบเมืองทั่วเอเชีย นี่คือ #วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
รายงาน IPCC เตือนให้รัฐบาลทั่วโลกลงมือทำทันทีเพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนที่จะสายเกินไป
รายงานคณะทำงานที่ 1 เรื่อง “พื้นฐานวิทยาศาสตร์กายภาพ(the Physical Science Basis)” อันเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการประเมินครั้งที่ 6 (the Sixth Assessment Report) ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) จัดทำโดย นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศชั้นนำของโลก สรุปถึงความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดว่า เกิดอะไรขึ้นกับระบบสภาพภูมิอากาศของโลก และเป็นคำเตือนที่ชัดเจนว่าเรากำลังจะมุ่งหน้าไป ณ ที่ใด หากไม่ลงมือทำอย่างเร่งด่วน
-
สรุปสถานการณ์สภาพภูมิอากาศ “เรากำลังมาถึงจุดวิกฤต”
ในครึ่งปีแรกของปี 2564 นอกจากสถานการณ์โรคระบาดที่ย่ำแย่ สภาพอากาศที่รุนแรงสุดขั้วซึ่งเป็นผลจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศก็ทวีความรุนแรงยิ่งกว่าปีก่อนๆที่ผ่านมา
-
แถลงการณ์ (ฉบับที่ 2): คัดค้านการผ่อนปรนการนำเข้าเศษพลาสติกหยุดการนำเข้าเศษพลาสติกอย่างเด็ดขาดภายในปี 2564
ปัญหาขยะพลาสติกเริ่มกลายเป็นประเด็นร้อนของสังคมไทย ภายหลังจากรัฐบาลจีนออกกฎหมายห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยเฉพาะการห้ามนำเข้าเศษพลาสติกต่างประเทศ นโยบายดังกล่าวส่งผลให้ผู้ประกอบการรีไซเคิลขยะพลาสติกในประเทศจีนหลายรายได้ย้ายฐานการรีไซเคิลไปยังประเทศต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอาเซียนและประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากปริมาณนำเข้าเศษพลาสติกที่อาจแฝงด้วยขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา จนทะลุ 5 แสนกว่าตันในปี 2561 และข่าวการจับกุมการลักลอบนำเข้าขยะพลาสติกหลายราย ที่มีการสำแดงเท็จว่าเป็น “เศษพลาสติก”
-
ติดตามวิกฤตสภาพภูมิอากาศจากรายงาน IPCC
รายงานที่น่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับมากที่สุดของ IPCC นี้ คือสารที่ส่งตรงจากนักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศชั้นนำของโลกถึงรัฐบาลประเทศต่างๆ ในเรื่องความเข้าใจล่าสุดว่าเกิดอะไรขึ้นกับระบบสภาพภูมิอากาศของโลก
-
ขยะพลาสติกล้นโลก: เมื่อไหร่รัฐและผู้ผลิตจะเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหา?
ระบบการจัดการขยะโดยรวมของประเทศไทย ทำให้ผู้คนไม่จำเป็นต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมก็ได้ คนทิ้งก็ไม่ต้องรับผิดชอบอะไรเลย และผู้ผลิตเองก็ไม่ต้องรับผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน
-
EIA อมก๋อย “ความไม่ชอบธรรมที่ชอบทำ”
กลุ่มเฝ้าระวังอมก๋อยยื่นเรื่องขอทบทวนรายงาน EIA ไปที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2563 เพราะคิดว่าตัวข้อมูลในรายงานเก่า ล้าสมัยเกินไป และมีข้อบกพร่อง 4 ประการ