All articles
-
เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การนำเข้าถ่านหินมายังประเทศไทยเพิ่มปริมาณขึ้นในช่วงกลาง คริสตทศวรรษที่ 1990 โดยมีปริมาณสูงกว่าการใช้ถ่านหินทั้งหมดภายในประเทศนับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา ในปี 2562 ไทยนำเข้าถ่านหินในปริมาณ 21.7 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 60.8 ของการใช้ถ่านหินทั้งหมด 35 ล้านตันในปีนั้น
-
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
-
บทวิพากษ์ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ.2561-2573)
การวิเคราะห์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
บทสํารวจปัญหาค่าจ้างและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อแรงงานข้ามชาติในอุตสาหกรรมอาหารทะเลไทย
รายงานฉบับนี้ชี้ให้เห็นถึงค่าจ้างของแรงงานข้ามชาติซึ่งเป็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน อภิปรายประเด็น “ค่าจ้างชีวิต” (Living Wage) ในบริบทประเทศไทย เสนอความไม่เท่าเทียมของแรงงานเพศหญิงและชาย และผลกระทบของการแพร่ระบาดโควิด-19
-
การวิเคราะห์ของกรีนพีซ: มลพิษไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) ช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน 2564 ในประเทศไทย
กรีนพีซ ประเทศไทย เปิดผลรายงานวิเคราะห์ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมระบุมลพิษไนโตรเจนออกไซด์เพิ่มสูงขึ้นในหลายพื้นที่ของไทยในรอบ 1 ปีหลังการล็อคดาวน์ครั้งแรกจากวิกฤตโควิด -19
-
ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่คาดการณ์จากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลแบบสภาวะสุดขีดใน 7 เมืองของเอเชียภายในปี พ.ศ.2573 : ข้อค้นพบหลัก
เมืองชายฝั่งทั่วเอเชียกำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้น คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(IPCC) เตือนว่า การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ระหว่าง 0.43-0.84 เมตรภายในปี พ.ศ.2643 (IPCC, 2019) ขณะเดียวกัน ตลอดศตวรรษที่ 21 พายุมีความเร็วลมรุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายมากขึ้น คลื่นพายุซัดฝั่งที่สูงขึ้น และปริมาณน้ำฝนที่มีสภาวะสุดขีดมากกว่าในอดีต (Knutson et al., 2020)
-
รายงาน “เส้นทางแรงงานบังคับกลางทะเล : ลูกเรือประมงชาวอินโดนีเซีย”
รายงาน “เส้นทางแรงงานบังคับกลางทะเล : ลูกเรือประมงชาวอินโดนีเซีย” คือรายงานล่าสุดโดยกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ตีแผ่เรื่องราวโหดร้ายกลางทะเลที่แรงงานข้ามชาติบนเรือประมงอินโดนีเซียต้องเผชิญ
-
กรีนพีซเปิดผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ระบุช่วง 6 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกลายเป็นไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10.6 ล้านไร่ และโยงกับมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดน
รายงาน ได้ขยายการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และนัยยะสำคัญของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่มีต่อการกระจายตัวและความเข้มข้นของมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดนในช่วงปี 6 ปีที่ผ่านมา
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2564
อัตราการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในสาธารณรัฐประชาชนจีนเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างรวดเร็วจนเทียบเท่ากับปริมาณการลดใช้ถ่านหินทั่วโลกทั้งหมดในปี 2563 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกของการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินทั่วโลกนับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา จะเห็นว่าได้ทำสถิติเสมอกัน โดยในปี 2563 มีการปลดระวางโรงไฟ้าถ่านหินกำลังการผลิตรวม 37.8 กิกะวัตต์ นำโดยประเทศสหรัฐอเมริกา 11.3 กิกะวัตต์ และสหภาพยุโรปอีก 10.1 กิกะวัตต์ ทว่า ความสามารถในการปลดระวางโรงไฟฟ้าถ่านหินนี้กลับถูกบดบังรัศมีเมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนดำเนินการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่
-
ผลการวิเคราะห์จุดความร้อน พื้นที่เผาไหม้ ความเข้มข้นของ PM2.5 และพื้นที่ปลูกข้าวโพด ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ระหว่างปี 2562-2563
ความรุนแรงของมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนที่ภาคเหนือตอนบนของไทยได้รับผลกระทบมากว่า 15 ปีนั้น แม้ปัญหานี้จะได้รับความสนใจจากภาครัฐบ้างในช่วง 3-4 ที่ผ่านมา จากการขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิขออากาศดีคืนมา อย่างไรก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญจากการวิเคราะห์ความเข้มข้นของ PM2.5 รายเดือนในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ตลอด 6 ปีที่ผ่านมา ยังแสดงให้เห็นว่าปัญหามลพิษข้ามพรมแดน PM2.5 ไม่ได้ลดความรุนแรงลงเลย