All articles
-
Carbon Foodprint มองอาหารผ่านการผลิตและการกินของ รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล
ภาคเหนือตอบนของไทยเป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่ออุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นระยะเวลาเกือบสองทศวรรษ ทั้งมลพิษข้ามพรมแดนที่คุกคามสุขภาพ และป่าไม้ที่สูญเสียไปเพื่อเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งการผลิตเนื้อสัตว์ของไทยนั้นนอกจากเลี้ยงคนในประเทศแล้ว ยังมีสัดส่วนในการส่งออกผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ไปยังตลาดโลกเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สถานการณ์เหล่านี้ทำให้ความหมายของการกินและการผลิตของไทยเป็นอย่างไร เราได้ชวน รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล มาพูดคุยถึงอาหาร ที่มากกว่าความอิ่ม แต่หมายถึงคาร์บอนฟุตปรินท์ สัตว์ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ
-
อย่าลืมปัญหาฝุ่นพิษ : จะแก้ปัญหาฝุ่นควันภาคเหนือ ต้องหยุดโทษคนตัวเล็ก และกล้าเอาผิดอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้อากาศสะอาดจะเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเราทุกคน แต่ดูเหมือนว่าในปัจจุบันอากาศสะอาดกลับกลายเป็นทรัพยากรที่เข้าถึงยากขึ้นเรื่อย ๆ ประชาชนยังคงต้องสูดฝุ่น PM2.5 โดยไม่เห็นวี่แววว่าสถานการณ์จะดีขึ้นแต่อย่างใด
-
ทำความรู้จักซีเซียม-137 คืออะไร? อันตรายแค่ไหน?
เชื่อว่าหลายคนคงมีข้อสงสัยมากมายในกรณี #ซีเซียม137 สูญหาย วันนี้เราจึงมัดรวมคำตอบของคำถามที่คุณน่าจะอยากรู้มาให้เข้าใจง่ายๆ กัน
-
พลังงานแสงอาทิตย์ และการสร้างพลังให้ผู้ประกอบการหญิงในอินโดนีเซีย
กลุ่มเกษตรกรผู้หญิงที่ปลูกกาแฟอย่างแบรนด์ Lady Farmer Coffee กำลังใช้พลังงานหมุนเวียนอย่างพลังงานแสงอาทิตย์ในการปลูกกาแฟ โดยพวกเธอใช้เดินเครื่องอบเมล็ดกาแฟ และทำให้สามารถรักษาคุณภาพและรสชาติของกาแฟอินโดนีเซียได้
-
รายงาน IQAir เผย ปี 2565 ทั้งปีมีอากาศดีแค่ 3 เดือน และมีนา-เมษา PM2.5 สาหัสที่สุด ปี 2566 จะซ้ำรอยหรือหนักกว่าเดิม?
ขณะหลายคนกำลังป่วยด้วยฝุ่น PM2.5 ที่หนักหน่วงในเดือนมีนาคมและอาจอยากรู้ว่าเราต้องแบกรับภาระทางสุขภาพนี้ไปอีกนานแค่ไหน? หรือจะเกิดอะไรขึ้นในเดือนนี้และเดือนต่อ ๆ ไป กรีนพีซ ประเทศไทยขอชวนอ่านรายงานคุณภาพอากาศโลก หรือรายงาน IQAir [1] ประจำปี 2565 ที่เพิ่งเปิดตัว เพื่อเตรียมตัวเตรียมใจรับมือสถานการณ์ปีนี้หากยังคงซ้ำรอยปีที่แล้ว สำรวจปัจจัยที่ทำให้อากาศดีและแย่ และกำหนดอนาคตทางสุขภาพของพวกเราร่วมกัน
-
สรุปแล้วหน่วยงานรัฐจัดการฝุ่น PM2.5 ไปถึงไหนแล้ว ทำไมเรายังต้องสูดฝุ่นกันอยู่อีก
กว่าจะผ่านช่วงโควิดกันมาได้ ใบหูของหลายคนคงมีร่องรอยที่ทิ้งไว้จากการต้องสวมใส่หน้ากากอนามัยอยู่ทุกวัน ปี 2566 นี้ในขณะที่สถานการณ์โควิดดีขึ้นจนคนส่วนใหญ่สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติและถอดหน้ากากให้หายใจได้อย่างเต็มปอด พวกเราคนไทยกลับยังต้องสวมหน้ากากยามออกไปข้างนอก เพราะฝุ่น PM2.5 ที่วนกลับมาตามฤดูกาล โดยจังหวัดกรุงเทพมหานครและอีกหลายจังหวัดในภาคเหนือต่างแข่งกันขึ้นอันดับเมืองที่มีคุณภาพอากาศยอดแย่ระดับโลก
-
#ทิ้งแล้วไปไหน เรื่องเล่าจากหลุมขยะนำเข้าในอินโดนีเซีย
เราไม่แน่ใจว่าขยะเหล่านั้นถูกจัดการอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ตอนนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซียกำลังประสบปัญหาเรื่องขยะนำเข้า
-
ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ = ความเป็นธรรมทางเพศ
ร่วมทำความเข้าใจเรื่องราวการต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีใน #WomenHistoryMonth ทำไมสิทธิสตรีจึงเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และทำไม ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ = ความเป็นธรรมทางเพศ
-
สนธิสัญญาทะเลหลวงผ่านแล้ว! ก้าวประวัติศาสตร์ปกป้องมหาสมุทรโลก
ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ความทุ่มเทของนักวิทยาศาสตร์ นักอนุรักษ์ นักกิจกรรม และผู้คนทั่วโลกพยายามผลักดันให้เกิดสนธิสัญญาดังกล่าว บล็อกนี้เราจึงจะพาย้อนดูที่มาของการเจรจาสนธิสัญญา ช่วงเวลาประวัติศาสตร์ และอนาคตของมหาสมุทรโลกหลังได้สนธิสัญญา
-
เมื่อแนวคิด 75 ปีก่อน ยังปิดทางการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ของคนไทยในปัจจุบัน
4 ปีมาแล้ว ที่คนไทยยังต้องเจอฝุ่นพิษ PM2.5 เราเคยสงสัยไหมว่าทำไมกฎหมายอากาศสะอาดที่จะมาแก้ปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 ของไทย ถึงไม่เกิดเสียที ทั้งที่ประชาชนต้องการ และพรรคการเมืองต่างๆ สนับสนุน จนเกิดร่างกฎหมายสะอาดและกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษกว่า 5 ฉบับเข้าไปแล้ว สาเหตุอาจน่าเจ็บใจกว่าที่คิด นั่นคือเรายังคงใช้แนวคิดของ “กฎหมายเกี่ยวด้วยการเงิน” เมื่อ 75 ปีก่อน มาปัดตกกฎหมายที่จะมาปกป้องชีวิตผู้คนในยุคปัจจุบันทิ้งไปอย่างน่าเสียดาย