All articles
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
6 ข้อสุดช็อก ที่เรายังไม่รู้เกี่ยวกับเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว
เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วเป็นสัญญาณเตือนที่ชัดเจนว่ากำลังคุกคามชีวิตของเราอย่างรุนแรง และชุมชนที่ได้รับผลกระทบต้องพร้อมที่จะเผชิญและรับมือกับความเสียหายเหล่านี้
-
4 ภัยอันตรายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่กำลังกระทบกับนักกีฬา
รู้หรือไม่ว่าปัจจุบัน การแข่งกีฬาโดยเฉพาะกีฬากลางแจ้ง ต้องเผชิญกับคลื่นความร้อน และพายุฝนรุนแรงมากขึ้น นี่คือเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วที่เป็นผลพวงจากภาวะโลกเดือดหรือวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่กำลังเป็นอุปสรรคและส่งผลกระทบต่อการแข่งขันกีฬา
-
10 เหตุผลที่เราต้องไม่หลงกลการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS)
ท่ามกลางวิกฤตโลกเดือดที่ท้าทายมนุษยชาติ เราจะได้ยินเรื่อง ความเป็นกลางทางคาร์บอน(carbon neutrality) และการลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์สุทธิ (net zero) ที่อ้างว่าเป็นทางออกมากขึ้นเรื่อย ๆ อีกประเด็นที่มาแรงแซงทางโค้งนอกจาก “ป่าคาร์บอน” แล้ว ก็คือการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage-CCS)
-
กลลวงใหญ่-การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
พวกเรารู้ว่าบริษัทน้ำมันอยู่เบื้องหลังวิกฤตโลกเดือดมาหลายทศวรรษ แต่กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมกลับวางแผนใช้วิกฤตนี้มาเป็นโอกาสทำกำไรให้กับตัวเอง ด้วยการใช้เงินจากงบประมาณสาธารณะ และอ้างว่าจะช่วยแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่ในทางกลับกัน งบประมาณสาธารณะดังกล่าวถูกนำไปใช้เพื่อเป็นเงินทุนอุดหนุนในการเพิ่มการผลิตน้ำมัน หากใครคิดตามแผนการนี้ไม่ทัน อาจจะบอกได้ว่าแผนของพวกเขานั้นอัจฉริยะจริง ๆ
-
ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ‘MIWATARI’ คว้ารางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สั้น สาขาสารคดีจากเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ CCCL Film Festival 2024
ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ‘MIWATARI’ คว้ารางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สั้น สาขาสารคดีจากเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ CCCL Film Festival 2024
-
เพราะเหตุใดเราจึงไม่เห็นปรากฏการณ์ ‘มิวาตะ’ ที่ทะเลสาบสุวะในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
‘ปีนี้ก็เป็นอีกปีที่ไม่มีมิวาตาริเกิดขึ้น’ ผมคิดว่าคนแรกที่บันทึกว่า ไม่มีมิวาตาริเกิดขึ้นนั้นเขาจะรู้สึกอย่างไร เพราะความจริงก็คือปรากฎการณ์นี้มีความสำคัญต่อพวกเราอย่างลึกซึ้ง
-
‘MIWATARI’ ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศระดับโลก
ภาพยนตร์สั้น “MIWATARI” (มิวาตาริ) ได้รับการสนับสนุนโดยกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกให้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ประเทศไทย เทศกาลหนังสั้น โลกป่วยเราต้องเปลี่ยน ปี 2567
-
โลกเดือดเกินขีดจำกัดอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน – ความเห็นของกรีนพีซ
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์, 8 กุมภาพันธ์ 2567 – สืบเนื่องจากข้อมูลซึ่งเผยแพร่โดยศูนย์คอเปอร์นิคัสซึ่งเป็นหน่วยงานบริการข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหภาพยุโรปที่แสดงให้เห็นว่า เป็นครั้งแรกที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกมีแนวโน้มเกินขีดจำกัด 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับปีฐานในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมโดยเกิดขึ้นตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึงมกราคม 2567
-
ชวนติดตามเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลกปี 2567
ปี 2566 ที่ผ่านมา มีความท้าทายและมีบันทึกสถิติใหม่ว่าด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ทั้งอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่ร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีมานับจากช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อ 200 ปีก่อน ความสุดขั้วของสภาพอากาศที่ถี่ขึ้น บั่นทอนการพัฒนามนุษย์และก่อความเหลื่อมล้ำทางสังคมมากขึ้น