All articles
-
“ควน ป่า นา เล ควรหวงแหน” ปกป้องตือโละปาตานี
“ควน ป่า นา เล ควรหวงแหน” ชุมชนเทพาขอเลือกเทใจให้พลังงานหมุนเวียน
-
ตือโละปาตานี วิถีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตือโละปาตานีมีศักยภาพเป็นแหล่งผลิตอาหารไม่เพียงแต่สำหรับชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนตือโละปาตานีให้มีความมั่นคงทางอาหารเท่านั้น แต่หากมีการจัดการที่ดี ตือโละปาตานีสามารถเป็นแหล่งผลิตอาหารสำหรับอาเซียนและสำหรับภูมิภาคอื่นๆ ได้ด้วย
-
เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์เข้าร่วมขบวนเรือประมงพื้นบ้านในตือโละปาตานี ประกาศเจตนารมย์หยุดถ่านหิน
วันนี้เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ ซึ่งเป็นเรือสัญลักษณ์ของกรีนพีซ เดินทางมาถึงตือโละปาตานี
-
กรณ์อุมา พงษ์น้อย: “เราไม่เคยคิดหวังพึ่งกระบวนการยุติธรรมแม้กระทั่งศาลปกครอง เพราะไม่คิดว่าจะสร้างความเป็นธรรมให้กับเราได้”
สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังคงเป็นเรื่องน่ากังวลในประเทศไทย แต่สิ่งที่เป็นความหวังในการปกป้องชุมชนและสิ่งแวดล้อมเสมอมาคือพลังและการขับเคลื่อนของภาคประชาชน
-
5 เหตุผล ทำไมโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำถึงไม่ใช่ความคิดที่ดี
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ลอยล่องอยู่ในน่านน้ำแถบมหาสมุทรขั้วโลกเหนือ เป็นภัยคุกคามที่เห็นได้ชัดต่อสภาพแวดล้อมอันห่างไกลและเปราะบางนี้
-
รายงานเรื่องมลพิษทางอากาศจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ย้ำเตือนถึงความจำเป็นที่จะต้องปลดแอกจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
แผนที่แสดงระดับมลพิษทางอากาศในเมืองต่างๆ ทั่วโลกขององค์การอนามัยโลกที่เพิ่งเปิดเผยไป คือการออกมาเรียกร้องให้มีการดำเนินการเพื่อลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อันตรายอย่างจริงจัง แผนที่ชิ้นนี้จัดได้ว่าเป็นแผนที่แสดงระดับมลพิษทางอากาศที่ครอบคลุมมากที่สุดในปัจจุบัน
-
32 ปี หลังเชอร์โนบิล และโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำ
32 ปีก่อนหน้านี้ อุบัติเหตุนิวเคลียร์กลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทำให้เกิดการปนเปื้อนพื้นที่ขนาดใหญ่ในทวีปยุโรป
-
สิทธิมนุษยชน: สิทธิของการมีอากาศที่ดีหายใจ
เราทุกคนมีสิทธิที่จะหายใจเอาอากาศที่ดีเข้าไป การใช้ชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศบริสุทธิ์คือสิทธิขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์
-
เนสท์เล่ขาดเป้าหมายที่ชัดเจนในคำประกาศเพื่อต่อกรกับปัญหาพลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เนสท์เล่ บริษัทจำหน่ายอาหาร น้ำ และเครื่องดื่มที่ใหญ่ที่สุดในโลก ได้เผยแถลงการณ์กล่าวถึงเป้าหมายที่จะแก้ไขปัญหามลพิษพลาสติกที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ดี ในแถลงการณ์นี้ไม่ได้กล่าวถึงเป้าหมายที่ชัดเจนในการลด รวมไปถึงเลิกใช้พลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง
-
ลดเพื่อเพิ่ม (Less Is More)
“ลด” เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเชิงอุตสาหกรรม “เพิ่ม” สุขภาวะที่ดีของมนุษย์และโลก