All articles
-
‘งดแจกถุงหูหิ้วโดยสมัครใจ’ มันช่วยลดมลพิษพลาสติกได้จริงหรือ!?!
เมื่อทุกคนในสังคมตระหนักและมองเห็นทิศทางที่สังคมต้องมุ่งไป ปัญหามลพิษพลาสติกก็มีโอกาสคลี่คลายลงได้ในอนาคต
-
เพนกวินในแอนตาร์กติกลดลงมากถึง 77% ในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา
ทีมนักวิทยาศาสตร์ได้เริ่มต้นการสำรวจจำนวนประชากรของเพนกวินชินสแตรปในแอนตาร์กติกอีกครั้ง หลังจากที่เคยสำรวจครั้งสุดท้ายเมื่อ 50 ปีก่อน ซึ่งจากข้อมูลพบว่าจำนวนเพนกวินกำลังลดลงอย่างต่อเนื่อง จนเกือบจะมากถึงร้อยละ 77
-
3 วิธีที่เราสามารถแก้ไขวิกฤตมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศกำลังทำร้ายพวกเราในขณะนี้ พวกเรากำลังหายใจอากาศที่สร้างความเสียหายให้กับอวัยวะส่วนใหญ่ในร่างกายเข้าไป ที่แย่ไปกว่านั้น สาเหตุหลักของมลพิษทางอากาศเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล และยังเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดวิกฤตสภาพภูมิอากาศของโลกที่พวกเรากำลังอาศัยอยู่ในขณะนี้
-
โลกร้อนขึ้น โรคร้ายขึ้น?
อุณหภูมิของเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศอันแปรปรวนและวิกฤตต่าง ๆ ที่ตามมา รวมถึงโรคร้ายต่าง ๆ ที่ดูจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่น่ากังวลมากที่สุด
-
รายงานประจำปี 2562
เกือบจะเป็นเวลาสองทศวรรษหลังจากที่กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ถือกำเนิดขึ้น พวกเราพบว่ามีหลายอย่างที่พวกเรารู้สึกขอบคุณ หนึ่งในนั้นคือการเติบโตของพลังมวลชนทั่วทั้งภูมิภาค
-
ร้อนสุดๆ ฉุดไม่อยู่ เมื่อปี 2562 ทุบสถิติร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึก (อีกครั้ง)
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เราได้เผชิญกับอุณหภูมิที่สูงขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้วบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น ความจริงก็คือ เราเพิ่งจะผ่านปี 2562 ซึ่งเป็นปีที่ร้อนที่สุดครั้งที่ 2 เท่าที่เคยมีการบันทึกไว้
-
“สมถะ” ร้านอาหารมังสวิรัติเพื่อโลกผ่านการกินอย่างเรียบง่าย
เมื่อพูดถึงอาหารมังสวิรัติ แม้ว่าเราจะเข้าใจตรงกันว่า คืออาหารที่ไม่มีเนื้อสัตว์ หากนิยามของอาหารมังสวิรัติที่แต่ละคนมีก็ย่อมจะแตกต่างกันไป แต่สำหรับ ริบบิ้น–นิชาภา นิศาบดี เจ้าของร้าน ‘สมถะ’ ร้านอาหารมังสวิรัติเปิดใหม่แห่งเมืองเชียงใหม่ เธอนิยามมันว่าคือ ‘ความเรียบง่าย’ ไม่ใช่อาหารราคาแพงๆ อย่างที่เรามักจะเข้าใจกัน
-
กองทุนแสงอาทิตย์ยอดบริจาคทะลุเป้าสู่โรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่7
เปิดตัวแล้วอย่างยิ่งใหญ่ โรงพยาบาลแสงอาทิตย์พระปกเกล้า โรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่ 7 ที่เกิดขึ้นจากเงินบริจาคของประชาชนทั่วประเทศผ่านกองทุนแสงอาทิตย์และโรงพยาบาลแห่งแรกของภาคตะวันออก
-
แถลงการณ์ “พอกันที #ขออากาศดีคืนมา”
เพื่อเริ่มต้นปกป้องประชาชนจากผลกระทบฝุ่นพิษ PM2.5 รัฐบาลต้องปรับ “มาตรฐาน PM 2.5 ในบรรยากาศ" ของประเทศไทยให้ใกล้เคียงกับเป้าหมายชั่วคราวที่ 3 ของ WHO(Interim Target 3) โดยที่ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง คือ 35 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และค่าเฉลี่ยรายปีคือ 12 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ภายในปี พ.ศ.2563 ในขณะเดียวกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่นพิษ PM2.5 ในสิ่งแวดล้อม รัฐบาลต้องเน้นมาตรการการลดการปล่อยจากแหล่งกำเนิดมลพิษ
-
ประชาชนหรืออุตสาหกรรม ใครได้ผลประโยชน์จากฝุ่นพิษ PM2.5
วาทะกรรมหนึ่งในกระบวนการแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษ PM2.5 ของรัฐบาลนั้น ได้กล่าวไว้ว่า “ให้แก้ปัญหาที่ตัวเราเอง” ซึ่งส่วนหนึ่งมีความถูกต้อง แต่ความจริงอีกส่วนที่ภาครัฐไม่เอ่ยปาก คือ ปริมาณฝุ่นพิษอันมหาศาลทั่วประเทศนั้น ผู้ที่ถูกพูดถึงน้อยแต่ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดอาจจะเป็นภาคอุตสาหกรรม