• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • เกี่ยวกับกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • ร่วมบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสารล่าสุด
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • เกี่ยวกับกรีนพีซ
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
  • ร่วมกับเรา
  • ร่วมบริจาค
  • ข่าวสารล่าสุด
Greenpeace
  • Home
  • เกี่ยวกับกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • ร่วมบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสารล่าสุด
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • บทความ
    คนและสังคม, ฝุ่นข้ามพรมแดน, ระบบอาหาร

    เสียงของคนตัวเล็กที่หายไปของปัญหาไฟป่า

    ปัญหาไฟป่าที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดนั้นได้สร้างข้อถกเถียงและข้อกล่าวหาว่า ชาวบ้าน คนบนดอย คนหาของป่าล่าสัตว์นี่แหละคือผู้ร้ายตัวการมือเผา แม้แต่ทางรัฐบาลเองก็ยังเสนอให้เปลี่ยนชื่อ “เห็ดเผาะ” เป็น “เห็ด PM2.5” ซึ่งข้อเท็จจริงนั้นหากเห็ดเผาะมีมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ชาวบ้านเก็บขายได้สูงเช่นนั้น ทำไมการส่งออกติดอันดับหนึ่งของเอเชียจึงเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ ไม่ใช่เห็ดเผาะ 

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    27 May 2024
    6 min read
  • กรีนพีซ
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    ผลกระทบจากพลาสติก, เชื้อเพลิงฟอสซิล

    แถลงการณ์ของกรีนพีซกรณีการล็อบบี้ของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก

    ศูนย์กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (Center for International Environmental Law) ซึ่งเปิดเผยว่ามีนักล็อบบี้ที่เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลและอุตสาหกรรมเคมีจำนวน 196 คน ถูกส่งเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลครั้งที่สี่ (INC4) เพื่อจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลก

    Greenpeace International •
    26 April 2024
    1 min read
  • กรีนพีซ
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    EPR, ผลกระทบจากพลาสติก

    กรีนพีซชี้นโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group) ไม่เพียงพอในการต่อกรวิกฤตมลพิษพลาสติก

    กรุงเทพฯ, 25 เมษายน 2567– กรีนพีซ ประเทศไทยแถลงวิพากษ์นโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group) ระบุนโยบายดังกล่าวยังไม่เพียงพอในการต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก แม้ว่าเครือเจริญโภคภัณฑ์จะอ้างว่ามีความก้าวหน้าในการดำเนินงาน แต่การดำเนินงานส่วนใหญ่กลับเน้นการจัดการพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งที่ปลายทาง ซึ่งไม่มีทางที่จะแก้ปัญหามลพิษพลาสติกที่ต้นเหตุ

    Greenpeace Thailand •
    25 April 2024
    6 min read
  • รายงาน
    EPR, ผลกระทบจากพลาสติก

    CP’s Plastic Pollution Unmasked-บทวิพากษ์ของกรีนพีซต่อนโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์

    รายงาน “บทวิพากษ์ของกรีนพีซต่อนโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP’s Plastic Pollution Unmasked) นี้ กรีนพีซ ประเทศไทยมุ่งประเมินนโยบายบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน (Sustainable Packaging Policy) ของ 2 บริษัทหลักในกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์คือบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด(มหาชน) หรือ CPALL ซึ่งครอบคลุมธุรกิจค้าปลีก-ส่งและร้านสะดวกซื้อที่สำคัญ

    Greenpeace Thailand •
    25 April 2024
  • บทความ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล, มลพิษทางอากาศ

    #ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน ภัทรานิษฐ์ ศรีจันทร์ดร : Food Not Coal

    ‘ภัทรานิษฐ์ ศรีจันทร์ดร’ หรือ ‘น้ำตาล’ เปิดร้านอาหาร เบเกอรี กาแฟ และขายของชำ ภายในร้าน ‘The Goodcery’ ชื่อ Goodcery มาจาก Grocery ที่แปลว่าร้านขายของชำ หรือ ‘โชห่วย’ ในภาษาจีน เมื่อนำคำมาละเล่นกับด้านตรงข้ามของ ‘ห่วย’ นั่นคือ ‘ดี’ หรือ Good ชื่อ The Goodcery จึงเป็นชื่อที่แทนความคิดในการทำร้านแห่งนี้ ทั้งหมดนี้ไม่ใช่วิสัยทัศน์ของนักธุรกิจ

    Veerapong Soontornchattrawat •
    18 April 2024
    4 min read
  • บทความ
    ป่าไม้, ฝุ่นข้ามพรมแดน, ปฏิวัติระบบอาหาร

    ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) คืออะไร และทำไมจึงเป็นทางออกของวิกฤตฝุ่นพิษข้ามพรมแดน

    ระบบตรวจสอบย้อนกลับ หรือ traceability คือกลไกที่สำคัญมากสำหรับสิทธิในการรับรู้ข้อมูลของผู้บริโภคและทุกคนที่อาจได้รับผลกระทบจากห่วงโซ่อุปทานการผลิตของสินค้า ว่าแต่ละขั้นตอนการผลิตนั้นเกี่ยวโยงกับการก่อมลพิษและการทำลายสิ่งแวดล้อมรูปแบบใดหรือไม่ เช่น การทำลายป่า การปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น สิทธิเกษตรกร แรงงานทาส หรือสิทธิต่อการมีอากาศที่ดีสำหรับหายใจของประชาชนในพื้นที่ และการเปิดเผยข้อมูลจากการตรวจสอบย้อนกลับอย่างโปร่งใสนี้ คือภาระการพิสูจน์ความจริงที่บริษัทอุตสาหกรรมจะต้องทำ

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    11 April 2024
    5 min read
  • บทความ
    หลักจัดการขยะ7R, คนและสังคม, ผลกระทบจากพลาสติก

    สนธิสัญญาพลาสติกโลกจะต้องลดการผลิตพลาสติกลง เพื่อปกป้องพวกเราจากมลพิษพลาสติก

    คุณเคยเห็นการลงประชามติที่มีผู้ออกเสียงลงคะแนนเห็นชอบถึงร้อยละ 80 ไหม แม้จะเป็นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นมาก่อน แต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่จะเกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง ผลการลงประชามตินี้จึงนับเป็นก้าวสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามาตรการที่เสนอไปนั้นได้รับการสนับสนุนในวงกว้าง และจะต้องมีการพิจารณาผลการลงประชามตินี้อย่างจริงจัง

    แองเจลิกา ปาโก หัวหน้าฝ่ายสื่อสารโครงการยุติมลพิษพลาสติก กรีนพีซ สหรัฐอเมริกา •
    5 April 2024
    6 min read
  • รายงาน
    รายงานประจำปี

    รายงานประจำปี 2565

    ปี 2565 ขณะที่เราเริ่มฟื้นตัวจากความสับสนวุ่นวายที่เกิดจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในช่วงสองปีที่ผ่านมา เป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเราต้องสร้างการเปลี่ยนแปลง เพื่ออนาคตของมวลมนุษยชาติก่อนที่จะสายเกินไป

    Greenpeace Thailand •
    4 April 2024
  • บทความ
    ผลกระทบจากพลาสติก, หลักจัดการขยะ7R, คนและสังคม, ระบบนิเวศ

    สนธิสัญญาพลาสติกโลก สู่การยุติมลพิษพลาสติก สำคัญอย่างไรต่อสังคมไทย

    สนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty) คือมาตรการด้านมลพิษจากพลาสติกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางทะเล ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ โดยสนธิสัญญานี้คือความหวังในการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก

    Greenpeace Thailand •
    2 April 2024
    9 min read
  • บทความ
    พลังงานหมุนเวียน

    ปิด-เปิดสวิตช์ โครงสร้างค่าไฟให้แฟร์และโปร่งใส ประชาชนต้องทำอย่างไร

    งานเสวนา “ปิด-เปิดสวิตช์ โครงสร้างค่าไฟให้แฟร์และโปร่งใส ประชาชนต้องทำอย่างไร” จึงชวนเหล่าผู้คร่ำหวอดในวงการพลังงานมาพูดคุยถึงประเด็นปัญหาเรื่องโครงสร้างและนโยบายทางพลังงานในประเทศไทยที่ส่งผลให้ค่าไฟแพงและไม่เป็นธรรม อุปสรรคและความท้าทายในการขับเคลื่อนประเด็นเรื่องพลังงานในประเทศไทย ทั้งในแง่ข้อมูลข่าวสารหรือการรณรงค์ในประเด็นต่างๆ ไปจนถึงทางออกของประชาชนว่าจะสามารถเรียกร้อง ผลักดันอะไรได้บ้าง จะต้องปิดหรือเปิดสวิตช์อะไร เพื่อจะทำให้ค่าไฟนั้นเป็นธรรมสำหรับทุกคน

    Greenpeace Thailand •
    29 March 2024
    7 min read
Prev
1 … 15 16 17 18 19 … 151
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้