-
มลพิษทางอากาศเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนทั่วโลกไม่เท่ากัน
มลพิษทางอากาศจากฝุ่นละอองขนาดเล็กเป็นปัจจัยเสี่ยงภายนอกต่อสุขภาพมนุษย์ที่ร้ายแรงที่สุด และผลกระทบต่ออายุเฉลี่ยส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ใน 6 ประเทศ ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีเครื่องมือพื้นฐานที่จะช่วยฟื้นฟูคุณภาพอากาศ
-
รายงาน: 30×30 จากสนธิสัญญาทะเลหลวงสู่เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล
รายงาน 30x30: From Global Ocean Treaty to Protection at Sea เผยข้อมูลการวิเคราะห์ของภัยคุกคามทะเลหลวง และสาเหตุว่าทำไมเราต้องใช้สนธิสัญญาทะเลหลวงสร้างเขตคุ้มครองทางทะเลให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 30 ของมหาสมุทรทั้งหมดภายในปี 2573 พื้นที่มหาสมุทรทั้งหมด 11 ล้านตารางกิโลเมตรต้องได้รับการปกป้องตามเป้าหมาย 30x30 ของสหประชาชาติ ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมตั้งแต่ปี 2565 และสนธิสัญญาฉบับนี้เป็นหนทางเดียวที่จะทำให้เราไปถึงเป้าหมายได้ทันกำหนด
-
ยินดีต้อนรับสู่ห้องเรียนหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ในวาระที่รัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภาโดยมีหลายประเด็นว่าด้วยนโยบายพลังงาน กรีนพีซ ประเทศไทย จึงต้อนรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานคนใหม่ ‘นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค’ เข้าสู่ห้องเรียนวิชาหน้าที่รัฐมนตรี และชวนทบทวนว่าหน้าที่เร่งด่วน 4 อย่างด้วยกัน ของกระทรวงพลังงานที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะมากที่สุดมีอะไรบ้าง ?
-
ความเห็นของกรีนพีซต่อรายงานสังเคราะห์การทบทวนสถานการณ์และการดำเนินงานระดับโลก (Global Stocktake Synthesis Report)
รายงานความคืบหน้าในการทบทวนสถานการณ์และการดำเนินงานระดับโลก (Global Stocktake Synthesis Report)ของสหประชาชาติเพื่อบรรลุเป้าหมายของความตกลงปารีส
-
“Climate Finance & Thailand Taxonomy; Opportunity and challenge” กลไกทางการเงินและการจัดกลุ่มกิจกรรมสีเขียวของไทย บนโอกาสและความท้าทาย
27 ปีต่อจากนี้ จะเป็นเวลาที่สำคัญมากสำหรับประเทศไทยและสำหรับโลกของเราที่จะขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านครั้งสำคัญต่อไปในอนาคต โลกและประชากรจะเป็นไปในทิศทางไหน? ในขณะที่เรามีทั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 รวมถึงเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2065 ซึ่งประเทศไทยได้ให้สัญญาไว้ในการประชุม COP26
-
รายงานเผย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุกผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงเพิ่มเป็น 11.8 ล้านไร่
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดเผยผลการวิเคราะห์ภาพดาวเทียมปี 2564-2566 ระบุอุตสาหกรรมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ยังคงมีบทบาทสำคัญในการทำลายผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ในขณะที่จุดความร้อน (Hot Spot) ในพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น สะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลที่ผ่านมาล้มเหลวในการบรรลุเป้าหมายลดจุดความร้อนภายใต้แผนปฏิบัติการเชียงราย (Chiangrai Plan of Action) และมีส่วนสนับสนุนให้อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ละเลยภาระรับผิดต่อวิกฤตมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-
ผลวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และจุดความร้อน ในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ปี 2564-2566 : ความท้าทายของระบบตรวจสอบย้อนกลับของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
ข้อมูลการวิเคราะห์จากภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุดระบุว่าในปี 2566 พบจุดความร้อนในแปลงข้าวโพดเลี้ยง สัตว์มากถึงร้อยละ 41 ของจุดความร้อนทั้งหมดในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ขณะเดียวกัน ผืนป่าในอนุภูมิภาค ลุ่มนํ้าโขงหายไป 11.8 ล้านไร่จากการขยายตัวของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในระยะเวลาเพียง 9 ปี (ปี 2558-2566)
-
ปี 2566 นี้ จีนอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเพิ่มขึ้นเป็น 50.4 กิกะวัตต์ อาจส่งผลต่อการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานและไม่รอดพ้นจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ภายในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี 2566 โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ทั่วประเทศ ซึ่งมีกำลังผลิตรวมอย่างน้อย 50.4 กิกะวัตต์ (GW) ได้รับอนุมัติจากทางการจีน
-
เปิดโปงการฟอกเขียวในอุตสาหกรรม Fast Fashion : รวมกลยุทธ์ที่แบรนด์ใช้ปิดบังต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ปี 2543 ถึงปี 2557 การผลิตเสื้อผ้าเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัว จนถึงจำนวนการผลิตราว 100 พันล้านตัว ซึ่งเกินจุดที่ไม่ยั่งยืนของการผลิตในแต่ละปี
-
ศาลปกครองพิพากษาคดี PM2.5 สั่งให้กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำ PRTR
ศาลปกครองมีคำพิพากษาให้กระทรวงอุตสาหกรรมโดยรัฐมนตรีว่าการ จัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register) หรือเรียกว่า PRTR ภายใน 60 วัน