• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Protest Against Illegal Mining in Indigenous Lands in Brazil. © Tuane Fernandes / Greenpeace
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ป่าไม้ ระบบนิเวศ

    เรื่องราวของชนพื้นเมืองยาโนมามิในบราซิล กับชีวิตที่ถูกคุกคามจากการทำเหมืองผิดกฎหมาย

    ปัจจุบันการทำเหมืองผิดกฎหมายในพื้นที่ของชนพื้นเมืองไม่เพียงแค่สร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมในระดับร้ายแรง แต่ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพและวิถีชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ การทำเหมืองผิดกฎหมายในภูมิภาคนี้ทำให้เกิดวิกฤตด้านมนุษยธรรม

    Diego Gonzaga •
    20 February 2023
    5 min read
  • ทะเลและมหาสมุทร
    คนและสังคม ชุมชนชายฝั่ง

    ทำไมคนจะนะออกมาค้านคำสั่งย้าย “หมอสุภัทร”

    ชาวจะนะกว่าห้าสิบชีวิตเดินทางกว่าสิบห้าชั่วโมงมาที่กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี เรียกร้องให้กระทรวงทบทวนคำสั่งย้าย นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ หรือ “หมอสุภัทร"

    Songwut Jullanan •
    17 February 2023
    6 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล คนและสังคม

    กะเบอะดิน กลุ่มชาติพันธุ์และอนาคตผู้ลี้ภัยทางสิ่งแวดล้อม?

    การสะสมมลพิษจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อยจะส่งผลโดยตรงต่อชุมชนกะเบอะดินทั้งด้านเศรษฐกิจ สุขภาพและวิถีของชนพื้นเมือง 

    จริยา เสนพงศ์ •
    14 February 2023
    6 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    แก้ปัญหาโรงพยาบาลไฟดับด้วยโซลาร์เซลล์ท่ามกลางสงครามในยูเครน

    ท่ามกลางสงคราม เกิดระเบิดขึ้นที่เมืองฮอเรนกาของยูเครนทำให้โรงพยาบาลได้รับความเสียหาย ไฟฟ้าถูกตัด แต่การดำเนินการของโรงพยาบาลจำต้องดำเนินต่อไป แม้อยุ่ในท่ามกลางวิกฤต โซลาร์เซลล์คือคำตอบที่ช่วยกู้สถานการณ์ได้

    Greenpeace International •
    14 February 2023
    5 min read
  • Activist Preparations on Arctic Sunrise. © Chris J Ratcliffe / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    คนและสังคม การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ‘ผมสูญเสียคนที่ผมรักจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ผมอยากให้ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบ’ เปิดเหตุผลที่ เยบ ซาโน ร่วมคัดค้านเชลล์

    เพราะฟิลิปปินส์เคยถูกทำลายด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ผมจึงมาที่นี่เพื่อส่งสาส์นให้กับผู้คนว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นจริง และกำลังทำร้ายพวกเรา ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหนบนโลกแต่วิกฤตสภาพภูมิอากาศจะส่งผลกระทบต่อคุณแน่นอน

    เยบ ซาโน •
    14 February 2023
    9 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน คนและสังคม ค่าไฟ

    ค่าไฟแพงเพราะอะไร? : คุยกับสารี อ๋องสมหวัง กับเหตุผลที่ว่าทำไมพลังงานจึงเป็นเรื่องของทุกคน

    สารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการสำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภค หนึ่งในผู้บริหารของสภาองค์กรผู้บริโภคที่กำลังเป็นหนึ่งผู้ขับเคลื่อนประเด็นพลังงานรวมถึงเรื่องราคาค่าไฟฟ้าที่แพงขึ้น ๆ จนทำให้หลายคนปวดหัวอยู่ในปัจจุบัน 

    Pannapa Phanitjaroen •
    10 February 2023
    7 min read
  • End the Age of Single Use Plastics in Budapest. © Attila Pethe / Greenpeace
    พลาสติก
    หลักจัดการขยะ7R ไลฟ์สไตล์ คนและสังคม

    #WeChooseReuse ถึงเวลาเปลี่ยนแนวคิด เพื่อการลดขยะพลาสติกที่ดีกว่าเดิม

    เพราะผลกระทบของพลาสติที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งส่งผลต่อเรารุนแรงมากขึ้นทุกวัน ดังนั้นจึงมีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่เชื่อว่า การลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งจากต้นทางเป็นทางออก และการรณรงค์เพื่อเปลี่ยนแนวคิดการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งเพื่อความสะดวกสบายไปสู่แนวคิดการใช้ซ้ำ ที่จะช่วยลดปัญหาขยะพลาสติกที่กำลังล้นโลกอยู่ในตอนนี้

    Greenpeace Thailand •
    8 February 2023
    8 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    ระบบนิเวศ เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    เมื่อซีรีย์ the Last of US หยิบประเด็นเชื้ออุบัติใหม่จากภาวะโลกร้อนมาเล่าผ่านการแพร่ระบาดของเชื้อราคอร์ดีเซปส์

    สิ่งที่น่าสนใจในซีรีย์คือการขยายเหตุผลความเป็นไปได้ในการแพร่ระบาดของเชื้อรากลุ่ม ‘คอร์ดีเซปส์’ (Cordyceps) โดยเฉพาะเชื้อราที่แพร่ระบาดในหมู่แมลงอย่างเช่น มด และเชื้ออาจจะแพร่สู่มนุษย์ด้วยปัจจัยเรื่อง ‘ภาวะโลกร้อน’

    Supang Chatuchinda •
    7 February 2023
    6 min read
  • Protest at Shell HQ in Manila. © LJ Pasion / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    กลุ่มชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศในฟิลิปปินส์และผู้สนับสนุนเรียกร้อง เชลล์ หยุดการขุดเจาะน้ำมันและชดเชยค่าความสูญเสียและเสียหาย

    กลุ่มผู้รอดชีวิตและได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วที่เกิดขึ้นเพราะวิกฤตสภาพภูมิอากาศ และผู้สนับสนุนจากกรีนพีซ ฟิลิปปินส์ เดินทางมายังสำนักงานใหญ่ของเชลล์ ยื่นจดหมายเรียกร้องให้เชลล์หยุดการแสวงหาผลกำไรจากการทำลายสภาพภูมิอากาศและต้องจ่ายเงินชดเชยค่าความสูญเสียและเสียหายที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ

    Greenpeace Philippines •
    6 February 2023
    4 min read
  • Greenpeace Activists Approach Shell Oil Platform. © Chris J Ratcliffe / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล นักกิจกรรมกรีนพีซ

    นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศของกรีนพีซปีนแท่นขุดเจาะน้ำมันขนาดใหญ่ของเชลล์ เรียกร้องให้เชลล์ ‘หยุดขุดเจาะและจ่ายค่าความสูญเสียและความเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ’

    หลังจากเชลล์ประกาศแสวงหาน้ำมันเพื่อผลกำไรในมหาสมุทร นักกิจกรรมกรีนพีซสากล 4 คน ขึ้นไปบนแท่นขุดเจาะ ไวท์ มาร์ลิน (White Marlin) ในทะเลตอนเหนือของเกาะคันนารี่ และประท้วงโดยสันติเพื่อคัดค้านการทำลายสภาพภูมิอากาศทั่วโลกที่เกิดขึ้นโดยเชลล์และกลุ่มอุตสาหกรรมฟอสซิล โดยที่บริษัทเหล่านี้ไม่ต้องรับผิดชอบความสูญเสียและเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศแม้แต่น้อย

    Greenpeace International •
    1 February 2023
    3 min read
Prev
1 … 38 39 40 41 42 … 153
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้