-
เล่นกับลูกด้วย 7 เกมง่ายๆที่จะทำให้เข้าใจมลพิษพลาสติกมากขึ้น
กรีนพีซมีเกมและกิจกรรมสนุกๆ มาแนะนำพ่อแม่ผู้ปกครองที่ลูกๆ เพื่อให้เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องมลพิษพลาสติก และเข้าใจในสถานการณ์และเปลี่ยนพฤติกรรมลดใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
-
ภาพสองด้านของวิกฤตมลพิษทางอากาศไทยในสถานการณ์ COVID-19
ประเด็นแรกสุดและสำคัญมากที่สุดในเรื่องการระบาดของโคโรนาไวรัส(COVID-19) คือประเด็นว่าด้วยสาธารณสุขและความปลอดภัย แต่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและแบบแผน ในชีวิตประจำวันของคนในสังคมเพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการระบาดก็ได้ส่งผลกระทบที่ลึกซึ้งต่อสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกัน อาจยังมีความเข้าใจและการสื่อสารข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนในเรื่องดังกล่าว และต่อไปนี้คือ ภาพสองด้านของวิกฤตมลพิษทางอากาศไทยในสถานการณ์ COVID-19
-
ปลูกผักกินเอง ปลูกความมั่นคงทางอาหารในรั้ว
การปลูกผักใช้ความรักมากกว่าใช้เงิน ในช่วงเวลาที่ COVID-19 กำลังคุกคามเราทั้งสุขภาพและเงินในกระเป๋าเช่นนี้ อีกทั้งความจำเป็นต้องอยู่บ้านให้มากที่สุดทำให้เราเริ่มหันมาตระหนักถึงความมั่นคงทางอาหาร
-
กรีนพีซระบุในปี พ.ศ.2562 กรุงเทพฯ เสียหายทางสุขภาพและเศรษฐกิจจากมลพิษทางอากาศมากที่สุด รองลงมาคือเชียงใหม่ และสร้าง Real-time counter เพื่อติดตามสถานการณ์ในช่วงปี พ.ศ.2563
กรุงเทพฯ, 9 เมษายน 2563 - การศึกษาของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ IQAir AirVisual ระบุว่า ในปี พ.ศ. 2562 ใน 6 จังหวัดของประเทศไทย กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่ได้รับความเสียหายทางสุขภาพและเศรษฐกิจจากมลพิษทางอากาศมากที่สุดในประเทศไทย โดยคิดเป็นมูลค่าโดยประมาณ 5,965,271,220เหรียญสหรัฐ
-
เก็บผักอย่างไรให้ได้นานในช่วงกักตัว
ในภาวะที่ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ หรือ COVID-19 กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ หลายคนต้องเริ่มทำอาหารทานเองอยู่ที่บ้าน เพื่อลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคจากการออกไปนอกบ้าน เชื่อว่าหลายคนกำลังประสบปัญหากับการเก็บผักอย่างไรให้ได้นาน มาดูกันว่าเราจะมีวิธีเก็บพืชผักได้นานขึ้นได้อย่างไรบ้าง
-
คุยกับชัชวาลย์ ทองดีเลิศ : ไฟป่า ฝุ่นควันและลมหายใจของคนภาคเหนือ
ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2563 ห้วงเวลาซึ่งเมืองเชียงใหม่ถูกปกคลุมไปด้วยกลุ่มควันไฟที่เกิดขึ้นจากไฟป่า และเชียงใหม่ขึ้นแท่นเป็นเมืองที่มลพิษทางอากาศสูงที่สุดในโลก กรีนพีซ ประเทศไทย ได้มีโอกาสสนทนากับคุณชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งและประธานสภาลมหายใจเชียงใหม่ และประธานมูลนิธิสืบสานล้านนา ถึงมุมมองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและทางออกที่ยั่งยืน
-
#ประมงไทยไม่มูฟออน ตอนที่ 2 ทำไมเพดานตลาดปลาของเราจึงเป็นอ่างศิลา ไม่ใช่ซึกิจิ
“เราเคยพยายามทำตลาดปลาเหมือนซึกิจิ (Tsukiji) ของญี่ปุ่น แต่จำนวนปลาพื้นบ้านของเราหมดตั้งแต่ตลาดท้องถิ่นมีการศึกษาจากคณะประมงบอกว่าปลาทูที่เรากินกันอยู่ 60เปอร์เซ็นต์คือปลานำเข้า 40เปอร์เซ็นต์คือปลาพื้นเมือง อย่างปลาทูแม่กลองที่ทั้งสวยทั้งเนื้อมัน ผมเคยไปตลาดหนองมน เห็นลูกค้าแทบกราบแม่ค้าให้ขาย แต่แม่ค้าบอกว่ามีคนจองแล้ว ปลาพื้นถิ่นบ้านเราหมดไปตั้งแต่ตลาดท้องถิ่น เหลือเข้ากรุงเทพฯ ไม่มากนัก”
-
ไฟป่าอนุรักษ์ : ผลพวงของนโยบายที่ผิดพลาดและสัญญานเตือนของภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ
ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา เกิดปรากฏการณ์ไฟรุนแรงในพื้นที่ป่าหลายแห่ง เริ่มจาก อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จ.เลย ในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ส่งผลให้เกิดความเสียหายในพื้นที่ป่าสนเขาเป็นวงกว้าง
-
เชื้อดื้อยามาถึงเราได้อย่างไร?
อาหารที่เรากินกันอยู่ทุกวันไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ ผัก หรือผลไม้ ล้วนมีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนและการตกค้างของยาปฏิชีวนะ การตกค้างของยาปฏิชีวนะนี้เองอาจก่อให้เกิดการติดเชื้อดื้อยาซึ่งเป็นหนึ่งในภัยคุกคามต่อสุขภาพในปัจจุบัน
-
Red Tide เมื่อการเติบโตของสาหร่าย คร่าชีวิตสัตว์ทะเลนับไม่ถ้วน
น้ำทะเลเปลี่ยนสี(Red Tide) เป็นปรากฎการณ์ที่น้ำทะเลเกิดการเปลี่ยนสีเป็นสีต่างๆตามสีของสาหร่ายใปรากฎการณ์นี้มีอันตรายที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต โดยคร่าชีวิตสัตว์ทะเลไปมากมาย