All articles
-
The Mercury Monster
รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย ฉบับกราฟิก
-
World Air Quality Report 2022
รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2565 นี้เป็นรายงานฉบับที่ 5 ซึ่ง IQAir จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลคุณภาพอากาศ PM2.5 จาก 7,323 เมือง ใน 131 ประเทศ และภูมิภาค โดยรวบรวมข้อมูลมาจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศภาคพื้นดินกว่า 30,000 แห่งทั่วโลก และใช้เกณฑ์แนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นค่าพื้นฐานในการนำเสนอข้อมูลคุณภาพอากาศ
-
ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ ประเทศไทย ต่อพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง 2566
ในการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในปี 2566 นี้ กรีนพีซ ประเทศไทย ในฐานะเป็นองค์กรรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม มีข้อเสนอต่อพรรคการเมือง ผู้กำหนดนโยบาย และรัฐบาลไทย ในประเด็นสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย
-
รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยนเรศวร และ กรีนพีซ ประเทศไทย ขอชวนอ่าน “รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย” (Mercury Emission from Coal Plants in Thailand) ที่จะทำให้เรารู้จักปรอทในบริบทของประเทศไทยมากขึ้น สำรวจแนวโน้มของการปนเปื้อนปรอทในอาหาร และเห็นว่าการรั่วไหลของปรอทต่อระบบนิเวศเป็นภัยคุกคามต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร
-
รายงานประจำปี 2563-2564
ปี 2563 และ 2564 เป็นปีที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นช่วงเวลาที่มนุษย์เราต้องย้อนกลับมาพิจารณาการกระทำและการตัดสินใจที่ผิดพลาดตลอดหลายปีที่ผ่านมา และทำให้เกิดผลกระทบที่กลายเป็นภัยคุกคามต่อมนุษย์เอง
-
หมดยุคคาร์บอน? :โอกาสการปลดระวางถ่านหินในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
รายงานนี้แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปล่าสุดของอุตสาหกรรมถ่านหินในฐานะความท้าทายของปฏิบัติการระดับโลกว่าด้วยการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบพลังงานของกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว เมียนมา ไทย และเวียดนาม
-
เติบโตบนความสูญเสีย : ผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม 20 ปีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และเกษตรพันธสัญญาในเขตภาคเหนือของไทย
การขยายตัวของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ความต้องการผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มสูงขึ้น ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่ปรากฎชัดตามมาคือ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
-
Fake My Catch: ความไม่น่าเชื่อถือของการตรวจสอบย้อนกลับทูน่ากระป๋อง
รายงานฉบับนี้พบว่าข้อมูลของบัมเบิล บีในเว็บไซต์ “Trace My Catch” ที่จะช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าของตนตั้งแต่การจับจนมาถึงเป็นกระป๋องนั้น มีไม่เพียงพอและในบางกรณีก็ไม่ถูกต้อง
-
ความแตกต่างใต้ท้องฟ้าเดียวกัน: รายงานความเหลื่อมล้ำจากมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศส่งผลกระทบถึงทุกคน ในปี 2562 มีการประมาณการณ์ว่ามากกว่าร้อยละ 90 ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่รายงานฉบับนี้ได้เผยแพร่ข้อมูลการได้รับฝุ่น PM2.5 โดยอ้างอิงจากสถานการณ์ของกลุ่มเปราะบาง ได้แก่ เด็ก ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งได้รับผลกระทบจากฝุ่นไม่เท่ากันและอาจขาดการเข้าถึงข้อมูลด้านคุณภาพอากาศ
-
พบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองตามธรรมชาติในไต้หวัน
การศึกษาของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกระบุพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของหมีดำฟอร์โมซาน (Ursus thibetanus formosanus), กวางป่าฟอร์โมซาน (Rusa unicolor swinhoii), นากคินเหมิน (Lutra lutra), มาร์เทนคอเหลือง (Martes flavigula) และแมวดาว (Prionailurus bengalensis) ทุกสายพันธุ์อยู่ในบัญชีแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบนบกของไต้หวัน และยังอยู่ในรายชื่อสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังพบไมโครพลาสติกในน้ำที่เก็บจากแหล่งที่อยู่อาศัยของหมีดำฟอร์โมซาน กวางป่าฟอร์โมซาน นากคินเหมินยูเรเซียน และปลาแซลมอน (Oncorhynchus masou formosanus) รวมถึงตัวอย่าง ลูกน้ำ แมลงที่เป็นอาหารหลักสำหรับฟอร์โมซาน…