All articles
-
ร้านค้าปลีก ซูเปอร์มาร์เก็ต และวิกฤตมลพิษพลาสติก : การจัดอันดับนโยบายพลาสติกของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในประเทศไทย ปี 2563
รายงานนี้จัดทำขึ้นเป็นครั้งแรกเพื่อประเมินนโยบายและแนวทางการจัดการพลาสติกของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในประเทศไทยเพื่อประโยชน์สาธารณะ กรีนพีซ ประเทศไทยใช้แบบสำรวจที่ประกอบด้วยเกณฑ์ 4 ด้านหลัก คือ ด้านนโยบาย(Policy) ด้านการลดพลาสติก(Reduction) ด้านนวัตกรรมและการริเริ่ม(Initiatives) และด้านความโปร่งใส(Transparency) ประกอบกับการสืบค้นข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงและสื่อสาธารณะ ช่วงเวลาการประเมินคือระหว่างเดือนมิถุนายน 2563-กุมภาพันธ์ 2564
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2564
ผลการตรวจสอบแบรนด์ (BrandAudit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทยปี2564
-
ปลดระวางถ่านหินเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมในประเทศไทย
การปลดระวางการลงทุนในถ่านหิน (coal divestment) เป็นแนวทางที่ดำเนินการทั่วโลก เนื่องจากการตระหนักถึงพิษภัย และความเสี่ยงในการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อนแบบที่ไม่มีจุดวกกลับ ประเทศไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมโลก จึงมีส่วนสำคัญในการร่วมรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อความยั่งยืนของลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปในการดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข
-
วารสารข่าว ฉบับปี 2564
“วิกฤตโรคระบาดไวรัสโคโรนา กับ วิกฤตสภาพภูมิอากาศ มีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่?” คุณเยบ ซาโน ผู้อํานวยการบริหารกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอบคําถามต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงโรคระบาดโควิด ดังนี้
-
ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยแบบจอมปลอม
เพื่อให้ระบบการทำฟาร์มมีความยืดหยุ่น เพื่อสุขภาพของมนุษย์ที่ดีขึ้น และเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สหภาพยุโรปไม่จำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิต แต่ควรผลิตอย่างแตกต่าง โดยผลิตเชิงในนิเวศท้องถิ่นให้มากขึ้น เพื่อผลผลิตที่ดีต่อสุขภาพ โดยให้ความสำคัญกับเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมน้อยลง รวมถึงการลดการผลิตพืชอาหารสัตว์ และลดการนำพืชที่คนสามารถกินได้มาผลิตเป็นเชื้อเพลิง
-
ป้อนอาหารให้ปัญหา : ความอันตรายที่เพิ่มขึ้นการทำฟาร์มปศุสัตว์ในยุโรป
อุตสาหกรรมการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมวัวที่มีมากเกินไปส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสุขภาพเรา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ชี้ให้เห็นความจำเป็นในการลดการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์ชัดเจนและเร่งด่วนกว่าครั้งใดในอดีต
-
เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การนำเข้าถ่านหินมายังประเทศไทยเพิ่มปริมาณขึ้นในช่วงกลาง คริสตทศวรรษที่ 1990 โดยมีปริมาณสูงกว่าการใช้ถ่านหินทั้งหมดภายในประเทศนับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา ในปี 2562 ไทยนำเข้าถ่านหินในปริมาณ 21.7 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 60.8 ของการใช้ถ่านหินทั้งหมด 35 ล้านตันในปีนั้น
-
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
-
บทวิพากษ์ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ.2561-2573)
การวิเคราะห์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
บทสํารวจปัญหาค่าจ้างและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อแรงงานข้ามชาติในอุตสาหกรรมอาหารทะเลไทย
รายงานฉบับนี้ชี้ให้เห็นถึงค่าจ้างของแรงงานข้ามชาติซึ่งเป็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน อภิปรายประเด็น “ค่าจ้างชีวิต” (Living Wage) ในบริบทประเทศไทย เสนอความไม่เท่าเทียมของแรงงานเพศหญิงและชาย และผลกระทบของการแพร่ระบาดโควิด-19