All articles
-
ป่าไม้ จิตวิญญาณ และความเป็นผู้นำหญิงปกาเกอะญอของแม่หลวงหน่อแอ่ริ
ไม่บ่อยนักที่เราจะเห็นผู้นำหญิง หรือ “แม่หลวง” ในชุมชนปกาเกอะญอ ในบทสัมภาษณ์นี้กรีนพีซจะพาไปสำรวจความคิดของ หน่อแอ่ริ ทุ่งเมืองทอง ถึงความเป็นหญิงและบทบาทผู้นำชนพื้นเมืองท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งวิกฤตโลกร้อนและนโยบายของประเทศและโลกที่ยังไม่ได้ยอมรับสิทธิของผู้หญิงและชนพื้นเมืองอย่างเท่าเทียม
-
สมัย พันธโครตร : พลังหญิงกับการปกป้องผืนป่าจากการแย่งยึดของรัฐโดยอ้างนโยบาย BCG
‘สมัย พันธโครตร’ คือนักปกป้องสิทธิมนุษยชนหญิงจากกลุ่มอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลายที่สูญเสียที่ดินไปกว่า 21 ไร่ เธอเปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามายึดพื้นที่พร้อมอาวุธติดตัว รื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ตัดต้นยางพารา มันสำปะหลัง ผู้ใหญ่บ้านประกาศเสียงตามสายห้ามเข้าพื้นที่ หากถูกจับกุมจะไม่รับผิดชอบ
-
BCG และการชดเชยคาร์บอนด้วยป่าไม้: นโยบายโลกร้อนเพื่อใคร?
ส่วนหนึ่งของงานนิทรรศการ BCG แย่งยึดอะไรที่คำป่าหลาย: นโยบายฟอกเขียวในนามความยั่งยืน หรือการแย่งยึดแผ่นดินราษฎร คือเวทีเสวนาที่ชวนตัวแทนจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล พรรคการเมืองฝ่ายค้าน ตัวแทนชุมชนผู้ได้รับผลกระทบ และนักวิชาการ มาร่วมกันถกในประเด็นโมเดลเศรษฐกิจ BCG ที่มาพร้อมกับกลไกตลาดคาร์บอน (Carbon Market) ที่เอื้อให้บริษัทอุตสาหกรรมซื้อขายคาร์บอนเครดิตจากป่าไม้ได้ แต่ข้อกังวลของชุมชนผู้ได้รับผลกระทบและภาคประชาสังคมคือ การลิดรอนสิทธิมนุษยชนอันเกิดมาจากการแย่งยึดที่ดิน
-
เปิดข้อมูลวิจัย ‘นโยบายทวงคืนผืนป่า’ นำชุมชนไปสู่ ‘ความยากจนฉับพลัน’
เป็นระยะเวลากว่า 9 ปีที่เราได้ยินคำว่า ‘นโยบายทวงคืนผืนป่า’ ซึ่งประกาศใช้โดยรัฐบาลทหาร คสช. ผ่านการนำเสนอในสื่อต่าง ๆ แต่เคยทราบหรือไม่ว่าเบื้องหลังการ ‘ทวงคืน’ นี้เกิดผลกระทบอะไรบ้างนอกจากรัฐได้ผืนป่าคืน ?
-
ป่าคาร์บอน: รัฐได้ป่า เอกชนได้คาร์บอนเครดิต ใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง?
บทความนี้จะพาออกสำรวจร่องรอย ที่มาที่ไปของแนวคิดการปลูกฟื้นฟูป่าเพื่อชดเชยคาร์บอนเครดิตทั้งในระดับสากลและของประเทศไทย นำเสนอให้เห็นความคืบหน้าของการปลูกฟื้นฟูป่าเพื่อชดเชยคาร์บอนของกลุ่มทุนอุตสาหกรรมที่กำลังดำเนินการอยู่ในปัจจุบันนี้ พร้อมทั้งการนำเสนอข้อสังเกตในประเด็นความไม่ชอบธรรม และผลกระทบของโครงการป่าคาร์บอนต่อชุมชนท้องถิ่น
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน รสริน คอนแนลล์ : clean air is a luxury
หลังจากพบว่าเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่สอง ‘รสริน คอนแนลล์’ ตั้งคำถามกับตัวเองว่า ‘ทำไม’ เพราะการดูแลสุขภาพอยู่บรรทัดแรกสุดในลำดับของสิ่งสำคัญในชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการกินหรือออกกำลังกาย
-
กฎหมาย PRTR จะนำพาสิทธิการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีมาให้คนไทย
ปัญหามลพิษ ฝุ่นละออง สารเคมีรั่วไหลเป็นปัญหาเรื้อรังในไทยมาหลายปี ชี้ถึงความจำเป็นของการใช้กฎหมายการปลดปล่อยหรือเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register หรือ PRTR) นี่จึงนำมาสู่งานเสวนา ‘สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR’
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน : ธนพล จูมคำมูล Deep into the mountain sound
ระหว่างที่ ‘ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์’ กำลังศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) ที่มหาวิทยาลัยซากะ ประเทศญี่ปุ่น บ้านเกิดของเขากำลังต้องการความช่วยเหลือ เนื่องจากกำลังจะมีโครงการเหมืองถ่านหินเกิดขึ้นในอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน : ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์ Modern Primitives
ระหว่างที่ ‘ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์’ กำลังศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) ที่มหาวิทยาลัยซากะ ประเทศญี่ปุ่น บ้านเกิดของเขากำลังต้องการความช่วยเหลือ เนื่องจากกำลังจะมีโครงการเหมืองถ่านหินเกิดขึ้นในอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
-
การนำเข้าก๊าซฟอสซิล ที่ประชาชนจำต้องแบกภาระค่าไฟฟ้าตลอดชีพ?
กลุ่มทุนก๊าซฟอสซิลยังเดินหน้านำเข้า LNG มาผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคงทางพลังงานของใคร?