All articles
-
บทสรุป COP27 และอนาคตการปกป้องสภาพภูมิอากาศ
ไฮไลท์สำคัญจาก COP27 ก้าวต่อไปของการร่วมกันแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
-
แนวโน้ม COP27 อาจเป็นแค่ประชุมฟอกเขียวของกลุ่มผู้ก่อมลพิษ
ครึ่งทางการประชุมสุดยอดสภาพภูมิอากาศโลก COP27 ในปีนี้มีประเด็นใหม่ที่น่าสนใจนั่นคือ การจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยความสูญเสียและเสียหาย (Loss and Damage)
-
ทำไมต้องมี ‘กองทุนชดเชยค่าเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ?’ : เมื่อประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศไม่ได้ก่อมลพิษหลัก
เมื่อต้องสูญเสียจากสิ่งที่ตัวเองไม่ได้ก่อ หลายประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศเริ่มเรียกร้อง “ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ” เพื่อสิทธิที่จะอาศัยอยู่ในโลกที่ปลอดภัยจากกลุ่มประเทศผู้ก่อมลพิษหลัก
-
แบรนด์ยักษ์ใหญ่ “โคคา-โคล่า” ซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักของการประชุม COP27 ถูกจัดอันดับว่าเป็นผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดในช่วงห้าปีที่ผ่านมา
เป็นเรื่องที่น่าแปลกอย่างมากที่บริษัทผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดกลายเป็นผู้สนับสนุนการประชุม เวทีการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ COP 27 ที่จัดขึ้นที่อียิปต์ ทำให้เกิดความสับสนของนักกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมว่าทำไมบริษัทอย่างโคคา-โคล่าที่ใช้พลาสติกซึ่งผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล 99% กลายมามีบทบาทสำคัญในการประชุม COP 27 ได้
-
รู้จักนักรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมรุ่นใหม่ ร่วมเดินทางกับกรีนพีซ เรียกร้องความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศช่วง COP27
การเคลื่อนไหวและรณรงค์ด้านสภาพภูมิอากาศนั้นเกิดขึ้นทั่วโลกโดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ และในบทความนี้เราจะมาทำความรู้จักกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่รณรงค์ปกป้องสภาพภูมิอากาศจากภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ซึ่งเป็นภูมิภาคที่กำลังจะมีการประชุมสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศโลกอย่าง COP27 เกิดขึ้น
-
ภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือกำลังเผชิญภัยพิบัติจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ตอนนี้อุณหภูมิในภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือเพิ่มขึ้นจากอุณหภูมิเฉลี่ยโลกถึงสองเท่า นั่นทำให้ระบบนิเวศ แหล่งที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิตของผู้คนในอัลจีเรีย อียิปต์ เลบานอน โมรอคโค ตูนีเซียและสหรัฐอาหรับ อิมิเรต กำลังเผชิญกับผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างรุนแรง
-
แบรนด์ใหญ่ทำไม่ได้ตามที่พูด และยังคงล้มเหลวในการจัดการปัญหามลพิษพลาสติก
มูลนิธิเอเลน แมค อาร์เธอร์ (EMF) ได้เปิดเผยในรายงาน Global Commitment 2022 Progress Report ว่าบริษัทต่าง ๆ จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายหลักในการสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนสำหรับพลาสติก ซึ่งตั้งไว้ในปี 2568 โดยรายงานระบุว่า เป้าหมายในการนำพลาสติกทั้งหมดมาใช้ซ้ำ รีไซเคิล หรือต้องย่อยสลายได้ 100% ภายในปี 2568 แทบจะไม่สำเร็จแน่นอนแล้ว ขณะเดียวกัน ตัวเลขการใช้พลาสติกใหม่ยังเพิ่มสูงขึ้นเทียบเท่าปี 2561
-
ความเหลื่อมล้ำใต้ท้องฟ้าเดียวกัน : เมื่อต่างจังหวัดฝุ่นเยอะพอๆ กับกรุงเทพฯ แต่เข้าถึงเครื่องวัดคุณภาพอากาศได้ยากกว่า
ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษพบว่าปริมาณฝุ่น PM2.5 เฉลี่ยรายปีของปี 2564 เชียงรายมีค่าสูงที่สุดในประเทศ รองลงมาคือขอนแก่นสระบุรี แต่หน่วยงานของภาครัฐนั้นมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 เฉพาะที่กรุงเทพมหานคร (อยู่อันดับที่ 10) และ 9 จังหวัดภาคเหนือ ในขณะที่ในบางพื้นที่ซึ่งก็มีปัญหามลพิษทางอากาศเช่นกันกลับไม่ได้รับความสนใจมากเท่าที่ควร
-
ประชาชนอินโดฯ ชนะอุทธรณ์คดีอากาศสะอาด ย้ำรัฐฯต้องแก้ปัญหามลพิษทางอากาศเพื่อประชาชนทุกคน
ประชาชนอินโดนีเซียชนะคดีอากาศสะอาดอีกครั้ง หลังประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ ยื่นอุทธรณ์
-
พบขยะสิ่งทอจากแบรนด์ชื่อดังอย่าง Nike, Clarks และหลากหลายแบรนด์เป็นเชื้อเพลิง (ที่เป็นพิษ) ในธุรกิจเตาเผาอิฐกัมพูชา (ตอนที่ 2)
โรงงานผลิตเสื้อผ้าและรองเท้าที่ผลิตสินค้าให้กับแบรนด์เสื้อผ้าชื่อดังของโลกส่วนใหญ่จะทิ้งเสื้อผ้า รองเท้าหรือสิ่งทออื่น ๆ ไปยังบ่อขยะหรือที่อื่นๆ ผ่านบริษัทที่มีใบอนุญาตในการกำจัดขยะ อย่างไรก็ตาม ในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่ผลิตขยะเสื้อผ้าในปริมาณมากกลับไม่มีมาตรการที่รัดกุมมากพอที่จะทำให้ขยะเหล่านี้กลายเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาอิฐตามโรงงาน