All articles
-
วิถีชาติพันธุ์ และการยับยั้งวิกฤตสภาพภูมิอากาศสั่นคลอน หลังสภาคว่ำ ม.27
จุดเปลี่ยนสำคัญเกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 ซ้อนทับด้วยพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ทำให้หลายชุมชนถูกพรากสิทธิการมีส่วมร่วมในการจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและพื้นที่ทำกินมาตั้งแต่บรรพบุรษ พี่น้องกลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองกลายเป็น “กลุ่มเปราะบาง” โดยรัฐไทยที่อ้างถึงความมั่นคงแห่งรัฐ
-
5 ประเด็นสำคัญที่เราต้องรู้ จากการประชุมเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก ครั้งที่ 5 (INC5) ที่ปูซาน เกาหลีใต้
สรุปประเด็นสำคัญจากการประชุมเจรจาครั้งนี้มาให้ทุกคนได้ติดตาม รวมทั้งเหตุผลที่ว่าทำไมเราจึงยังไม่ได้สนธิสัญญาพลาสติกโลกที่ต้องการเสียที
-
รายงานล่าสุดของ GEM เผย “super-emitter” 23 เหตุการณ์เชื่อมโยงกับ 8 เหมืองถ่านหินระดับโลก
ในเดือนธันวาคม 2567 องค์กรติดตามพลังงานโลก หรือ Global Energy Monitor (GEM) เผยแพร่รายงานข้อมูลเกี่ยวกับการปล่อยก๊าซมีเทน (Methane) จากเหมืองถ่านหินทั่วโลก โดยเน้นการตรวจจับเหตุการณ์ที่เรียกว่า “super-emitter” ซึ่งหมายถึงการปล่อยก๊าซมีเทนในระดับสูงเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนดโดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (Environment Protection Agency: EPA) จากแหล่งที่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน
-
โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล: อีกหนึ่งหายนะและต้นตอของ PM 2.5
ค่า PM2.5 จากรายงานคุณภาพอากาศ ณ จุดที่ตั้งของโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล พระนครเหนือ อ.บางกรวย จังหวัดนนทบุรี และพระนครใต้ อ.เมือง จังหวัดสมุทรปราการ ในวันนี้มีระดับที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและได้เป็นสิ่งที่เตือนใจถึงเรื่องที่เราหลงลืมไปนั้นคือการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลของโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิลทั้งสองแห่งคือหนึ่งในแหล่งกำเนิดหลักของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2), ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx), ฝุ่นละออง (PM), คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), ปรอท (Hg) และมลพิษอื่น ๆแม้ว่า ณ ปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานการปล่อยฝุ่นพิษ PM2.5 จากปลายปล่อง แต่มีประกาศโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเรื่องกำหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5…
-
โลกยังมีหวัง ! : รวมชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปี 2567
นี่คือชัยชนะด้านสิทธิและสิ่งแวดล้อมจากทั่วโลกในปี 2024 ที่เป็นแรงบันดาลใจให้เรายังคงรณรงค์เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมต่อไป
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
คุยกับทีมวิจัย “ย่อย ไม่ย่อย ?” ตกลงแล้ว พลาสติกที่บอกเราว่า ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ย่อยจริงหรือเปล่า?
เราหยิบยกหนึ่งในข้อสงสัยของผู้บริโภคเกี่ยวกับ ‘ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ’ ด้วยการทำงานร่วมกับทีมจากคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ทำการทดลองว่า ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์พลาสติกเหล่านี้จะย่อยสลายได้จริงหรือไม่
-
Beyond Coal: ก้าวข้ามถ่านหินสู่พลังงานสะอาดและการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่เป็นธรรม
ในโลกยุคปัจจุบัน ถ่านหินซึ่งเคยเป็นเชื้อเพลิงสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก กำลังเป็นตัวการที่สร้างผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างร้ายแรง การเผาไหม้ถ่านหินก่อให้เกิดวิกฤตโลกเดือดและสร้างมลพิษทางอากาศ ทั้งก๊าซเรือนกระจก ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์โดยตรง นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณมหาศาลจากการใช้ถ่านหิน ก็เป็นหนึ่งในปัญหาใหญ่ที่ทุกประเทศกำลังเผชิญ
-
บุญยืน ศิริธรรม: ประเทศไทยมีแดดมากพอ นโยบายของรัฐต่างหากที่ ‘บังแดด’ และผลักคนไทยออกจากการเข้าถึงพลังงานแสงอาทิตย์
บุญยืน ศิริธรรม ต่อสู้เพื่อความชอบธรรมของพี่น้องประชาชาชนมามากกว่า 30 ปี จากนักสู้ที่เรียกร้องและมักจะเป็นผู้ร้องทุกข์ต่อรัฐจนเกิดความเปลี่ยนแปลงในหมู่บ้านซึ่งเป็นถิ่นเกิดในจังหวัดสมุทรสงคราม