All articles
-
แม่ทะบ้านฉัน ชีวิตดีๆ ที่จะลงตัวอยู่แล้วถ้าไม่มีโครงการเหมืองถ่านหิน
“วิถีชีวิตของเราก็จะเปลี่ยนไป จากที่เราเคยหาของป่า ทำไร่ ปลูกข้าว เคยจับกุ้ง หอย ปู ปลา ถ้ามีโครงการเหมืองเข้ามา วิถีชีวิตตรงนี้มันก็จะเปลี่ยนไป หรือแม้แต่ความสัมพันธ์ของคนเองก็อาจจะเปลี่ยน”
-
ยุติภาวะโลกเดือดที่ต้นเหตุ: นโยบายรัฐไทยต้องเลิกเอื้อฟอกเขียวนายทุน ยกประชาชนเป็นที่ตั้งรับมือวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
การเอื้อประโยชน์ให้กับบรรษัทยักษ์ใหญ่ทำให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางต้องเผชิญกับสารพัดวิกฤต (poly crisis) ทั้งผลกระทบจากหายนะจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งพวกเขาไม่ได้มีส่วนก่อขึ้น ผลกระทบเหล่านี้ซ้ำเติมให้ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความยากจนที่มีอยู่เดิมทวีความรุนแรงขึ้นไปอีก
-
เปิด 6 เหตุผล ที่คดีฟ้องร้องของเอเนอร์จีทรานสเฟอร์ต่อกรีนพีซถึงไร้เหตุผลอย่างยิ่ง
บริษัทเอเนอร์จีทรานสเฟอร์ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการท่อส่งน้ำมัน “ดาโคตาแอคเซสไปป์ไลน์”ได้ฟ้องร้องกรีนพีซ เป็นเงินจำนวน300 ล้านเหรียญสหรัฐ กรีนพีซเชื่อว่าการฟ้องร้องครั้งนี้นี้เป็นการฟ้องเพื่อปิดปาก
-
ถึงเวลาผู้กำหนดนโยบายทั่วโลกต้องควบคุมการปล่อยก๊าซมีเทนจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
หากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมยังคงเดินหน้าไปตามกระบวนการอย่างเช่นในปัจจุบัน และกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วยังคงบริโภคอย่างล้นเกินไปเรื่อย ๆ ก็จะทำให้การปล่อยก๊าซจากอุตสาหกรรมดังกล่าวสามารถเร่งภาวะโลกเดือดให้อุณหภูมิเฉลี่ยโลกสูงขึ้นถึง 0.32 องศาเซลเซียส ภายในกลางศตวรรษนี้
-
การประชุมเจรจา CBD COP16 จะเป็นใบเบิกทางสู่การปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพอย่างแท้จริงหรือไม่?
ในทศวรรษนี้จะเป็นช่วงเวลาสำคัญสำหรับทุกชีวิตบนโลก เพราะเป็นช่วงเวลาที่เราต้องเลือกว่าเราจะปกป้องโลกเพื่อให้สายใยโครงสร้างทางระบบนิเวศใบนโลกได้ฟื้นฟูตัวเอง หรือเราจะเลือกให้กลุ่มทุนผู้ก่อมลพิษยังคงแสวงหาผลกำไรเข้าตัวและทำลายโลกต่อไป ?
-
วัวเรอไม่ใช่เรื่องตลก : ก๊าซมีเทนจาก เรอ ตด และมูลในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์กำลังทำให้สภาพภูมิอากาศวิกฤต
ถ้าถามว่าเรารู้จักก๊าซมีเทนไหม? หลายคนน่าจะรู้จักก๊าซชนิดนี้ว่าเป็นก๊าซจากตดและเรอของวัว นอกจากนี้ ก๊าซมีเทนยังถูกปลดปล่อยจากการเลี้ยงสัตว์ มูลวัว และการย่อยอาหาร ซึ่งการปลดปล่อยก๊าซมีเทนนี้เคยเป็นประเด็นรณรงค์จากหนึ่งในศิลปินชื่อดังอย่าง the Beatles โดยเป็นผู้สนับสนุนสำคัญในด้านการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระจายประเด็นนี้สู่สาธารณะให้ตระหนักรู้
-
ซูเปอร์มาเก็ตในป่าชุมชน
“ถ้ามีโครงการเหมืองถ่านหิน พวกเราจะไปอยู่ที่ไหน? เรากินอยู่กับป่า เรารักษาป่า เพราะป่าคือชีวิตเรา เราไม่เชื่อหรอกว่าการมีเหมืองถ่านหินพวกเราจะรวย เราจะตายต่างหาก”
-
‘ปลดระวางถ่านหิน เคารพสิทธิมนุษยชน’ คำเรียกร้องถึง SCG ในวันที่พลังงานฟอสซิลเป็นเรื่องล้าหลัง และความยั่งยืนเป็นนโยบายเรือธงขององค์กร
กรีนพีซ ประเทศไทย จัดงาน ‘ฮักภาคเหนือ บ่เอาถ่านหิน’ บริเวณประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ และจัดให้มีเวทีเสวนา ‘ถ้าฮักบ้านเฮา: ต้องเริ่มปลดระวางถ่านหินและเคารพสิทธิมนุษยชน’ ขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2567 ที่ผ่านมา
-
มองน้ำท่วมในมุม Climate Injustice เมื่อกลุ่มคนที่ปล่อยคาร์บอนน้อยสุดต้องรับแบกรับผลจากภัยพิบัติจากโลกเดือดมากที่สุด
ข้อถกเถียงสำคัญที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือสภาวะน้ำท่วมฉับพลัน ดินถล่มและโคลนที่ตามมาจากมวลน้ำที่ไหลมาจากพื้นที่ภูเขา ในสายตาของสังคมพุ่งไปยังชุมชนคนกับป่าที่อาศัยอยู่บนดอยว่าเป็นต้นเหตุของการทำลายป่า อย่างไรก็ตาม สภาพภูมิอากาศสุดขั้วที่ทำให้หลายพื้นที่ประเทศไทยกำลังเผชิญกับพายุรุนแรงและน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์นั้นไม่ได้มีที่มาเพียงแค่การหายไปของพื้นที่ป่าไม้ แต่ยังเป็นผลของการก่อก๊าซเรือนกระจกมหาศาลและอย่างยาวนานของอุตสาหกรรมหลายภาคส่วน
-
สรุปวงสนทนา #ฮักภาคเหนือบ่เอาถ่านหิน : เสียงจากคนภาคเหนือร่วมคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหิน
เป็นเวลาร่วม 5 ปีแล้วที่ชุมชนบ้านบอม อ.แม่ทะ จ.ลำปาง และชุมชนกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ เดินหน้าปกป้องพื้นที่จากโครงการเหมืองถ่านหินไม่ให้เกิดขึ้นอีก ในปีนี้ กรีนพีซ ประเทศไทยหนึ่งในภาคีเครือข่ายร่วมคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินกับชุมชน จัดวงพูดคุย X Space #ฮักภาคเหนือบ่เอาถ่านหิน เสียงจากคนภาคเหนือในการคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหิน