All articles
-
ดัชนีคุณภาพอากาศ PM2.5 และการรายงานคุณภาพอากาศที่ทันสมัย ทำไมจะทำไม่ได้?
ท่ามกลางวิกฤตมลพิษทางอากาศที่กำลังจะกลายเป็นวิกฤตด้านสาธารณสุข เรามักจะได้ยินหน่วยงานของรัฐบอกว่า กรุงเทพมหานครและประเทศไทยยังไม่พร้อมที่จะมีดัชนีคุณภาพอากาศ PM2.5 และการรายงานคุณภาพอากาศที่ทันสมัย ต้องรอไปอีก 2-3 ปี
-
ก้าวข้ามขยะพลาสติกจากน้ำดื่ม
ทำอย่างไร...แขกที่เข้าพักจึงจะมีน้ำสะอาดดื่ม โดยไม่เหลือทิ้งขยะพลาสติก
-
ฝุ่นพิษ PM2.5 ที่คุกคามสุขภาพของคนในกรุงเทพฯ มาจากไหน
วิกฤตฝุ่นพิษ PM2.5 ที่ปกคลุมเมืองหลวงของประเทศมาตั้งแต่ต้นปี ทำให้คนสงสัยว่า ฝุ่นพิษ PM2.5 มันมาจากไหนกันและทำไมถึงไม่ยอมหายไปสักที
-
EHIA ถ่านหินเทพาสอบตก
กระบวนการจัดการรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาเกือบมาถึงสุดทาง เมื่อการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) จัดส่งรายงานฉบับดังกล่าวให้กับคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อผลักดันให้เกิดการอนุมัติในเร็ววันนี้
-
ห้องเรียนปุ๋ยหมักของนักแก้ปัญหา
ช่วงสายของวันสบาย ณ รีสอร์ตแห่งหนึ่งบนเกาะลันตา จ.กระบี่ ชาวไทยและชาวต่างชาติราวสิบชีวิตมารวมตัวกันเพื่อเรียนรู้วิธีแปลงใบไม้แห้งและเศษอาหารเป็นปุ๋ยหมัก ทุกคนล้อมวงด้วยความตั้งใจ สายตาจับจ้องที่วิทยากร
-
หมอกหรือ ฝุ่นพิษ PM2.5 สิทธิพื้นฐานที่รัฐต้องบอกประชาชน
หลายวันมานี้เป็นวันที่กรุงเทพฯ มีท้องฟ้าสีหม่นดูราวกับหมอก แต่แท้ที่จริงแล้วกลับเป็นท้องฟ้าที่ถูกปกคลุมไปด้วยมลพิษทางอากาศ และมีค่าฝุ่นละออง PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐาน เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่กรมควบคุมมลพิษนั้นไม่มีการประกาศเตือน อีกทั้งยังคงรายงานดัชนีคุณภาพอากาศโดยคำนวณเพียงแค่ PM10 เท่านั้น ซึ่งทำให้ประชาชนไม่สามารถรู้ข้อมูลของอากาศที่เราหายใจเข้าไปได้อย่างถูกต้อง
-
Livable City ยุค 4.0 หรือ 0.4 ? มองจุดเริ่มต้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่าน Mayday, Khon Kaen Smart City และ GoodWalk
ทุกวันนี้คนไทยในเมืองใหญ่กำลังเผชิญหน้ากับมลพิษทางอากาศจากการคมนาคมและการขนส่งซึ่งก่อให้เกิดวิกฤตทางสุขภาพ โดยมีฝุ่นละอองขนาดเล็กอย่าง PM2.5 เป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งที่ไทยเราต่างมองข้าม หากแต่ในเวทีโลกอย่างองค์การอนามัยโลกหรือธนาคารโลกต่างถกเถียงและหาทางแก้ไขกันมานานแล้ว
-
ค่าฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่ 14 จังหวัด (มกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2560)
มลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ของเมืองในประเทศไทย ช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2560
-
เศษอาหารคือขุมทรัพย์พลังงาน
ด้วยเห็นปัญหาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในพื้นที่จังหวัดกระบี่ โดยเฉพาะเรื่องน้ำเสียและขยะซึ่งก่อเสียงบ่นจากนักท่องเที่ยวเป็นระยะ คุณอุ๊ อันติกา ศรีรักษา ผู้จัดการทั่วไปของปกาสัย รีสอร์ต จึงใส่ใจวางแผนจัดการขยะอินทรีย์
-
รายงานประจำปี 2559
ปี 2559 กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก้าวไปสู่การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เร่งด่วนที่สุดในภูมิภาคเราทำงานด้วยการส่งเสริมพลังการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อชัยชนะของโลก เรายังคงขยายงานรณรงค์ให้กว้างออกไปเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนและกลุ่มคนที่หลากหลายได้มาเข้าร่วม