All articles
-
ภาคประชาชนเดินหน้ายื่นร่างกฎหมายโลกเดือด “กฎหมายที่ต้องมีจิตวิญญาณของสิทธิมนุษยชน” (ตอนที่ 2)
ใจความสำคัญของกฎหมายฉบับนี้คือการรวบรวมจิตวิญญาณของความห่วงใยการอยู่รอดของทุกชีวิตบนโลกใบนี้ที่ไม่ใช่แค่มนุษย์แต่รวมถึงธรรมชาติ สรรพชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมันหมายถึงจิตวิญญาณของโลกทั้งมวล และจิตวิญญาณที่รัฐและภาคธุรกิจต้องมีต่อสังคม ที่จะปกป้องสิทธิของประชาชนทำให้เกิดการเคารพและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน สิทธิในชุมชน และสิ่งแวดล้อมให้เป็นคุณค่าหลักในการแก้ไขปัญหาโลกเดือดอย่างจริงจัง
-
ภาคประชาชนเดินหน้ายื่นร่างกฎหมายโลกเดือด “กฎหมายที่ต้องมีจิตวิญญาณของสิทธิมนุษยชน” (ตอนที่ 1)
วันที่ 13 มิถุนายน 2567 เครือข่ายประชาชนเพื่อความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศกว่า 23 องค์กรร่วมแถลงข่าวเตรียมยื่นเสนอร่างกฎหมายโลกเดือด!!! เพื่อยับยั้งทุนนิยมสีเขียว ภายใต้พระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นธรรมและยั่งยืน (ฉบับประชาชน)
-
“ให้เราพูดแทนสัตว์ทะเล”: เสียงจากเยาวชนผู้อยู่เบื้องหลัง Mystery of Ocean
จับเข่าคุยกับกลุ่มคนรุ่นใหม่เจ้าของนิทรรศการฉายภาพโปรเจคเตอร์ Mystery of Ocean ส่วนหนึ่งของงาน Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice พาทุกคนดำดิ่งไปใต้ท้องทะเลไทยที่มีทั้งความสวยงามและปัญหาที่คุกคามทั้งความอุดมสมบูรณ์ทางทะเล ชุมชนชาวประมงชายฝั่ง รวมถึงความมั่นคงทางอาหาร
-
กรีนพีซร่วมกับชุมชนชายฝั่งชุมพรเรียกร้องพื้นที่คุ้มครองทางทะเลที่ชุมชนมีส่วนร่วม ในวันมหาสมุทรโลก
เนื่องในวันมหาสมุทรโลก ชุมชนประมงชายฝั่งในอำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ร่วมกับ กรีนพีซ ประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ เครือข่ายประชาชน และองค์กรภาคประชาสังคม ทำกิจกรรมโดยใช้เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงในการรณรงค์ของกรีนพีซเป็นสัญลักษณ์ ผลักดันพื้นที่คุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล เพื่อปกป้องทะเลไทย สิทธิชุมชนชายฝั่ง และความเท่าเทียมทางด้านสิ่งแวดล้อม
-
ด้วยงานวิจัยและจิตวิญญาณ: ลองฟังเสียงและข้อมูลโต้อคติไร่หมุนเวียนตัวการฝุ่นพิษภาคเหนือ
งานวิจัยในกิจกรรม “ไฟป่า ฝุ่นควัน ชาติพันธุ์ ไร่หมุนเวียน” ที่มุ่งทลายมายาคติทางสังคมต่อชนเผ่าพื้นเมืองชาติพันธุ์ที่ทำไร่หมุนเวียน เพื่อแก้ปัญหาฝุ่นพิษอย่างตรงจุดที่ต้นตอของปัญหาและไม่ตอกย้ำความเหลื่อมล้ำและไม่เป็นธรรมของโครงสร้างทางสังคม
-
Diversity is Nature : เพราะความหลากหลายคือธรรมชาติของโลก แล้วนโยบายรัฐไทยโอบรับความหลากหลายของชุมชนหรือยัง?
เฉลิมฉลองเดือนแห่งความหลากหลาย (Pride Month) เราจึงชวนกลุ่มคนที่ทำงานในประเด็นความหลากหลายในมิติต่างๆไม่ว่าจะเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ เพศ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม มาร่วมพูดคุยกันในวงเสวนา Diversity is Nature โดยมี อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไครียะห์ ระหมันยะ ลูกสาวแห่งท้องทะเลจะนะ เยาวชนและนักกิจกรรมจากเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น จ.สงขลา และวิภาวดี แอมสูงเนิน นักรณรงค์ด้านทะเลและมหาสมุทร กรีนพีซ ประเทศไทย
-
‘บ้านเรา ให้เราดูแล’ เสียงจาก 4 นักปกป้องชุมชนทะเลไทย
ในปี 2567 นี้ เรือรณรงค์ของกรีนพีซอย่าง Rainbow Warrior เดินทางมาที่น่านน้ำไทย เราจึงขอชวนไปทำความรู้จักและฟังเสียง Ocean Defenders หรือ นักปกป้องทะเล 4 คน ที่ต่างมีเป้าหมายเดียวกันในการรักษาบ้านเกิดของพวกเขา
-
เรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงของกรีนพีซ ถึงประเทศไทยแล้ว
กรีนพีซ ประเทศไทย จัดงาน “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justic” ที่มิวเซียมสยาม ในโอกาสที่เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงที่ใช้ในการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ เดินทางมาประเทศไทยอีกครั้ง เพื่อทำงานร่วมกับชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ ผลักดันเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล เพื่อปกป้องทะเลไทย และสิทธิชุมชนชายฝั่ง และความเท่าเทียมทางด้านสิงแวดล้อม
-
เสียงของคนตัวเล็กที่หายไปของปัญหาไฟป่า
ปัญหาไฟป่าที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดนั้นได้สร้างข้อถกเถียงและข้อกล่าวหาว่า ชาวบ้าน คนบนดอย คนหาของป่าล่าสัตว์นี่แหละคือผู้ร้ายตัวการมือเผา แม้แต่ทางรัฐบาลเองก็ยังเสนอให้เปลี่ยนชื่อ “เห็ดเผาะ” เป็น “เห็ด PM2.5” ซึ่งข้อเท็จจริงนั้นหากเห็ดเผาะมีมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ชาวบ้านเก็บขายได้สูงเช่นนั้น ทำไมการส่งออกติดอันดับหนึ่งของเอเชียจึงเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ ไม่ใช่เห็ดเผาะ
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซกรณีการล็อบบี้ของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ศูนย์กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (Center for International Environmental Law) ซึ่งเปิดเผยว่ามีนักล็อบบี้ที่เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลและอุตสาหกรรมเคมีจำนวน 196 คน ถูกส่งเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลครั้งที่สี่ (INC4) เพื่อจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลก