-
การติดตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ร่องรอยพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อน จากภาพดาวเทียม ปีพ.ศ. 2567 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขง (ตอนบนของประเทศไทย, ตอนบนของ สปป.ลาว และรัฐฉานของเมียนมา)
ไม่นานมานี้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขงได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ.2558 และ พ.ศ.2562 และได้มีการสันนิษฐานถึงสาเหตุของปัญหาที่ทําให้ระดับความรุนแรงของปัญหาดังกล่าวมีระดับความรุนแรงขึ้น คือ การปลูกข้าวโพดภายใต้ระบบเกษตรพันธะสัญญาทั้งประเทศไทย เมียนมา และ สปป.ลาว ซึ่งทําให้เกิดปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดนยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น
-
แผนการลดการใช้พลาสติกสู่ความเป็นศูนย์ของ CP เดินหน้าแบบถอยหลัง
ในฐานะภาคเอกชน เครือเจริญโภคภัณฑ์ มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการสนับสนุนให้ “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” มีความเข้มแข็งและมีมาตรการที่มุ่งมั่นในการลดมลพิษพลาสติกได้จริง การปรับตัวของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” จึงไม่ควรหยุดอยู่ที่การพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิล หรือวัสดุทดแทนพลาสติกเท่านั้น แต่ต้องมุ่งไปที่การลดใช้พลาสติกตั้งแต่ต้นทาง ผ่านการสนับสนุนระบบเติม (Refill) และระบบใช้ซ้ำ (Reuse System) อย่างจริงจัง
-
กรีนพีซกังวล ‘อันตรายจากสารพิษหลายชนิด’ จากเหตุเรือชนกันในทะเลเหนือ
กรีนพีซแสดงความกังวลเกี่ยวกับภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล อันเนื่องมาจากสินค้าและน้ำมันเตา (Bunker fuel) ของเรือบรรทุกสารเคมีและเรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์เกิดอุบัติเหตุชนกันนอกชายฝั่งยอร์กเชียร์ (Yorkshire) ของอังกฤษ ใกล้กับพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมสูง
-
เครือข่ายประชาชนไม่เอากฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ยื่นหนังสือคัดค้าน “กฎหมายพิเศษ เพื่อคนพิเศษ”
เครือข่ายประชาชนไม่เอากฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในฐานะพื้นที่กลางขององค์กรชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด และองค์กรเครือข่ายภาคีระหว่างภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 94 องค์กร ยื่นหนังสือคัดค้านการร่างพระราชบัญญัติระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC)
-
แถลงการณ์กรีนพีซ : ครบรอบ 14 ปี อุบัติภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
ครบรอบ 14 ปี หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์อุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ตามมา กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ประสบภัยและครอบครัวที่ยังคงต้องทนทุกข์หลังเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งใหญ่นี้
-
ไทยติดอันดับ 6 ประเทศที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามรายงาน IQAir ปี 2567
ตามรายงานคุณภาพอากาศโลกประจำปี 2567 โดย IQAir ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 6 จาก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุด
-
การขุดเจาะก๊าซฟอสซิลเร่งเร้าวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
กระบวนการผลิตจนถึงการบริโภคก๊าซฟอสซิลที่ถูกตั้งชื่อให้ดูเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมว่า “ก๊าซธรรมชาติ” กลับส่งผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมต่อชุมชนผู้มีรายได้น้อย กลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองชาติพันธุ์ ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
-
“มองทุกอย่างให้เป็นโอกาส” รู้จัก อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล ผู้นำทีมรณรงค์คนใหม่ของ กรีนพีซ ประเทศไทย
‘จิ๊บ’ อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล ปัจจุบันเธอเป็นผู้จัดการงานรณรงค์ของกรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกำหนดยุทธศาสตร์การปกป้องสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพและสิทธิในการอยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ดีของคนไทย
-
“Land bridge Effect ผลกระทบโครงการท่าเรือน้ำลึกแลนด์บริดจ์ชุมพร ระนอง” เปิดข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภัยคุกคามต่อชุมชนชายฝั่ง
ชุดข้อมูลนี้เป็นชุดข้อมูลที่นักวิชาการร่วมทำงานเก็บข้อมูลกับชุมชนเพื่อแสดงให้เห็นถึงข้อห่วงกังวลต่อผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชนที่อาจเกิดขึ้นหากเกิดโครงการท่าเรือน้ำลึก Land Bridgeใน จ.ชุมพรและ จ.ระนอง
-
ธารา บัวคำศรีอำลากรีนพีซ ประเทศไทย ทีมผู้นำรุ่นใหม่เดินหน้างานรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม
ธารา บัวคำศรี ก้าวลงจากตำแหน่งผู้อำนวยการ กรีนพีซ ประเทศไทย หลังจากร่วมก่อตั้งองค์กรและทำงานรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 25 ปี พร้อมส่งมอบภารกิจให้ผู้นำรุ่นใหม่สร้างการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี ธารายืนยันสนับสนุนการรณรงค์ของกรีนพีซ ประเทศไทยในฐานะนักกิจกรรมต่อไป